ทฤษฎีการเรียนรู้สู่การพัฒนาบทเรียนออนไลน์ ทฤษฎีการเรียนรู้สู่การพัฒนาบทเรียนออนไลน์

Main Article Content

จิตติรัตน์ แสงเลิศอุทัย

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอทฤษฎีการเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มการคิดที่สามารถนำมาใช้ในการพัฒนาบทเรียนออนไลน์ ซึ่งผู้เขียนได้ใช้เป็นแนวคิดในการจัดการศึกษา การจัดการเรียนรู้และการพัฒนาบทเรียนออนไลน์เพื่อเสริมสร้างทักษะคิดอย่างมีวิจารณญาณต่อการใช้ความรุนแรงของเด็กวัยรุ่น โดยบทความวิชาการนี้ได้นำเสนอสาระสำคัญ ได้แก่ ทฤษฎีการเรียนรู้ ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มการคิดและทฤษฎีการเรียนรู้ที่นำมาใช้ในการพัฒนาบทเรียนออนไลน์ ในแง่มุมของแนวคิด หลักการและการนำไปใช้

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

เอกสารอ้างอิง

จินตวีร์ คล้ายสังข์. (2560). การผลิตและใช้สื่ออย่างเป็นระบบ เพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ:

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทิศนา แขมมณี. (2558). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ (พิมพ์ครั้งที่

. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปริยาภรณ์ ตั้งคุณานันต์. (2558). พื้นฐานและหลักการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: มีนเซอร์วิส ซัพพลาย.

พนารัตน์ แสงวิจิตร. (2558). การออกแบบและพัฒนาบทเรียนออนไลน์ด้วยมูเดิ้ล. ราชบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏ

หมู่บ้านจอมบึง.

ไพฑูรย์ สินลารัตน์ และคณะ. (2557). เติบโตเต็มตามศักยภาพสู่ศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

มารุต พัฒผล. (2563). ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มการรู้คิด (Cognitive Theories). กรุงเทพ: มหาวิทยาลัย

ศรีนครินทรวิโรฒ.

ศศิวรรณ พชรพรรณพงษ์. (2554). การออกแบบและการพัฒนาการเรียนรู้. สุรินทร์: คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ราชภัฏสุรินทร์.

Caliskan, S. et al. (2020). Lecturers views of online instructors about distance education and

adobe connect. International Journal of Emerging Technologies in Learning (iJET), 15

(23), 145-157.