กลุ่มไอดอล MUM48 กับการขับเคลื่อนความเสมอภาคทางเพศในประเทศอินเดีย

Main Article Content

Prakaikavin Srijinda
สุรสิทธิ์ วิทยารัฐ
พิมพ์ลภัทร ชัยชนะ

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ                               


         


            บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์บทบาทของกลุ่ม MUM48 นักร้องไอดอลหญิงสัญชาติอินเดีย       ว่าจะมีผลต่อการขับเคลื่อนความเสมอภาคทางเพศในประเทศอินเดียในมิติต่าง ๆ โดยใช้การวิเคราะห์ตัวบท โดยมุ่งนำเสนอออกเป็น 4 มิติ คือ ความท้าทายของสิทธิสตรี ความแตกต่างทางวัฒนธรรม วรรณะและการยอมรับ           ในสังคม และการอยู่รอดของกลุ่มไอดอลหญิงในอินเดีย โดยพบว่าเป็นความท้าทายในการที่กลุ่มไอดอล MUM48    จะสามารถแก้ปัญหาในความแตกต่างของวัฒนธรรม หรือประยุกต์ปรับเปลี่ยนรูปแบบของวงไปตามความเหมาะสมกับสังคมและวัฒนธรรมของประเทศอินเดีย และค่อยๆสอดแทรกแนวคิดใหม่ในเรื่องของสิทธิสตรี เพื่อเป็นอีกแรงผลักดันในการสร้างสังคมใหม่ให้แก่ประเทศอินเดีย สังคมที่เท่าเทียม สังคมที่ความเหลื่อมล้ำทางเพศลดน้อยลง และเป็นส่วนสำคัญในการสามารถขับเคลื่อนความเสมอภาคทางเพศในประเทศอินเดียต่อไป

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กนกพรรณ วิบูลยศริน. (2547). การเปรียบเทียบภาพตัวแทนของผู้หญิงสมัยใหม่และหลังสมัยใหม่
ในภาพยนตร์ ไทยและภาพยนตร์อเมริกัน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กรุงเทพฯ.
กาญจนา แก้วเทพ. (2543). ความเรียงว่าด้วยสตรีกับสื่อมวลชน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
กุลภา วัจนสาระ. (2544). เซ็นเตอร์พ้อยท์ กับ “Preeteen”: การก่อตัวของวัฒนธรรมวัยแรกรุ่น. วิทยานิพนธ์
ปริญญามหาบัณฑิต คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
จิราวรรณ นันทพงศ์ และกาญจนา แก้วเทพ. (2554). บทบาทของการสื่อสารกับการสร้างและนำเสนออัตลักษณ์
ของกลุ่มวัฒนธรรมย่อยนักเต้นบีบอยในประเทศไทย. วารสารนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
20 (2), 37-49.
ดวงหทัย บูรณเจริญกิจ. (2560). แนวคิดสตรีนิยมและขบวนการทางสังคมของผู้หญิงในประเทศไทย:วิเคราะห์
ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ข้อถกเถียงและยุทธศาสตร์. กรุงเทพฯ : มูลนิธิฟรีดริช เอแบร์ท.
ณัฐจรี สุวรรณภัฏ. (2550). “อุดมการณ์ ความคิด และความเชื่อของคนชั้นกลาง” ใน ศึกษา รู้จัก วิพากษ์ คนชั้น
กลาง, นลินี ตันธุวนิตย์, บรรณาธิการ กรุงเทพฯ : มิสเตอร์ก็อปปี้.
ประชา เปี่ยมพงษ์สานต์. (2529). ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมรูปแบบใหม่ / ขบวนการเคลื่อนไหวประชา
สังคมในต่างประเทศ: บทสํารวจพัฒนาการ สถานภาพและนัยยะเชิงความคิด / ทฤษฎีต่อการพัฒนา
ประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ : ศูนย์วิจัยและผลิตตํารา, มหาวิทยาลัยเกริก.
Ester Boserup. (2007). Reprint ed. Woman's Role in Economic Development. UK : Earthscan.
Kacharaj Wareesoonthorn. (2561). เปิดตำนาน AKB48 จากวงไอดอลเกิร์ลกรุ๊ป สู่โมเดลธุรกิจบันเทิง
ระดับโลก. ค้นเมื่อ เมษายน 12, 2561 จาก https://www.ceoblog.co/akb48/.
Kyobo. (2017). มาแล้วจ้ะนายจ๋า! AKB48 ก่อตั้งวงน้องสาว MUM48 ที่อินเดีย. ค้นเมื่อ เมษายน 12,
2561, จาก https://music.mthai.com/news/newsinter/281480.html
Liza Romanow. (2012), ‘The Women of Thailand’. Global Majority E-Journal, 3 (1), 44-60.
Sanook.com. ( 2558). รวมคนดัง (หญิง). ค้นเมื่อ เมษายน 12, 2561, จาก https://my.dekd.com/bird711/
writer/viewlongc.php?id=549632&chapter=7.
Stuart Hall. (1997). Representation: Cultural Representations and Signifying Practices
(Culture, Media and Identities series). London : SAGE.
Weiner, G. (1994) Feminisms in education: an introduction. Buckingham: Open University Press.