การพัฒนาแอปพลิเคชันสื่อการเรียนบนอุปกรณ์เคลื่อนที่ด้วย Glide App เรื่องทรัพย์สิน ทางปัญญาสำหรับนักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ -

Main Article Content

kittipong latebson
สายฝน เสกขุนทด

Abstract

The objectives of this research were 1) to develop a Mobile Learning Media Application with Glide App: Topic “Intellectual Property for Students of Computer Education”, Rajabhat Rajanagarindra University. 2) to evaluate the quality of Mobile Learning Media Application with Glide App. 3) to compare academic achievement before studying and after studying with Mobile Learning Media Application with Glide App. and 4) to assess user satisfaction at application for Mobile Learning Media Application with Glide App. The target group used in the research are first-year 21 students in the Computer Education, Rajabhat Rajanagarindra University that using the Purposive Sampling method. Statistics used in research include mean, standard deviation. Dependent Samples t-test.


The results of the research found that: 1) Results of the development of Mobile Learning Media Application with Glide App: Topic: “Intellectual Property for Computer Education Students” Rajabhat Rajanagarindra University Divided into different screens As follows: Main page, Content page, Document format content page, Content page in presentation slide format, Video content page, Quiz page, Satisfaction quiz page and Logout page 2) The quality assessment results based on expert opinions on Mobile Learning Media Application with Glide App in the overall opinion was at the very good level (𝑥̅= 4.67, S.D. = .38). 3) Academic achievement before studying and after studying with Mobile Learning Media Application with Glide App, They are significantly different at the .05 level and 4) the results of the analysis of the level of satisfaction of learners who have access to Mobile Learning Media Application with Glide App found that overall student satisfaction was at the highest level (𝑥̅ = 4.66, S.D = .23).


 


 

Article Details

Section
research article

References

คณิศร จี้กระโทก. (2565). การพัฒนาแอปพลิเคชันสื่อการเรียนรู้บนสมาร์ทโฟน เรื่องแนวคิดเชิงคำนวณ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วารสารศิลปะศาสตร์ราชมงคลสุวรรณภูมิ, 5 (2), 404-418. คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง. (2565). คลังนวัตกรรมคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง

Glide Application. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 15 มกราคม 2567.

พลปชา มณรัตนชัย, นราธิป เปี่ยมชั้น, ศุภณัฐ ประยูร, วิชนี มัธยม และภัทรภร อินทนาศักดิ์. (2563). การพัฒนา แอปพลิเคชันสื่อการเรียนรู้เรื่องคอมพิวเตอร์

ฮาร์ดแวร์ด้วยเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น, 17 (2), 483-494.

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์. (2562). หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา (4 ปี) หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562.

ฉะเชิงเทรา: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.

มนต์ชัย เทียนทอง. (2545). การออกแบบและพัฒนาคอร์สแวร์สำหรับบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน. กรุงเทพฯ: ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

นพดล ผู้มีจรรยา และ อาลดา สุดใจดี. (2564). การพัฒนาบทเรียนเอ็มเลิร์นนิงร่วมกับการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ)

เรื่อง แนวคิดเชิงคำนวณ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบางลี่วิทยา. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี, 10 (1), 33-44.

วนิดา จำนงค์ผล, ปริญญา ทองสอน และ สฏายุ ธีระวณิชตระกูล. (2561). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรียน

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 สาระหน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและ การดำเนินชีวิตในสังคมโดยใช้กระบวนการแก้ปัญหา. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร,

(1), 196-207.

สายฝน เสกขุนทด. (2562). กฎหมายและจริยธรรมทางคอมพิวเตอร์. ฉะเชิงเทรา: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.

สายฝน เสกขุนทด และชัยณรงค์ มะหารักษ์. (2562). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมสําหรับนักเรียนชั้น

มัธยมศึกษาปีที่ 1. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี, 8 (2), 213-228.

สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม [สพธอ]. (2564). รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตใน

ประเทศไทย ปี 2564.(ออนไลน์) ค้นเมื่อ 25 กุมภาพันธ์ 2567 จาก https://www.etda.or.th/th/Useful-Resource/publications/Thailand-

Internet- UserBehavior-2021Slides.aspx

อุไรวรรณ ศรีไชยเลิศ และ ธนาวดี ขุนด้วง. (2565). การพัฒนาบทเรียนมัลติมีเดียบนเว็บร่วมกับการจัดการเรียนรู้การใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะด้านการ

อ่าน กรณีศึกษาวิชาภาษาไทยสําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี, 11 (1), 29-39.

Kurt, S. (2018). “ADDIE Model: Instructional Design.” Educational Technology. [Online]. Retrieved December 2, 2019,

from https://educationaltechnology.net/the-addiemodelinstructional- design/.