การศึกษาความคาดหวังและความต้องการจำเป็นต่อการพัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกำลังกาย คณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติประจำภาคกลาง
Main Article Content
Abstract
This research was designed using quantitative and qualitative methods. The purpose of this research was to investigate the expectations and needs in the development of a Bachelor of Science in Sports and Exercise Science, in Faculty of Sports and Health Science, Thailand National Sports University - Central Region. A questionnaire and a semi-structured interview form were used as the tools of this research and were reviewed by a panel of three experts. The content validity of the questionnaire Set 1 and Set 2 was found at .87, and the content validity of the semi-structured interviewe form was found at 1. The reliability of the questionnaire Set 1 was .97 and Set 2 was .96. The target group samples were 808 key informants derived by purposive selection. The data were analyzed using percentage, mean, and standard deviation. The content analysis was employed in a descriptive method based on the theoretical framework of the research. The findings revealed the following:
The expectations and needs in the development of a Bachelor of Science in Sports and Exercise Science, in Faculty of Sports and Health Science, Thailand National Sports University – Central Region, comprised five significant aspects:
1. Knowledge: knowledge in theories and fundamental principles of general science, and knowledge in profession of sports and exercise science in a multidisciplinary term
2. Skills: skills in life-long learning especially being curious to seek knowledge and tracking changes in profession continually as well as skills in teaching and leadership of exercise in a specific way
3. Ethics: generosity, compassion, honesty, discipline, responsibility, sacrifice, and public mind based on Buddhist teachings and legal principles to lead a happy life
4. Character: leadership, good personality, good physical proportion, self-confidence, and self-expression
5. Curriculum Management: teaching and learning along with field experience focusing on practice, student-centered learning, life-long learning promotion, and curriculum improvement to meet the needs of current situations and future trends.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
บัณฑิตา อินสมบัติ และปราณี เนรมิตร. (2563). แนวทางการพัฒนาหลักสูตรระดับอุดมศึกษาทีสอดคล้องกับการพัฒนาประเทศสู่ Thailand 4.0: กรณีศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 14 (2), 159-170.
ประกาศคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา. (2565). เรื่อง รายละเอียดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2565. ราชกิจจานุเบกษา.
บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2549). สถิติวิเคราะห์เพื่อการวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: จามจุรีโปร ดักท์.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2565). แนวทางการจัดทำหลักสูตรใหม่/หลักสูตรปรับปรุงของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2565) ตามเกณฑ์
มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2565. ฝ่ายมาตรฐานการศึกษา สำนักบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ พ.ศ. 2562. (2562). พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ พ.ศ. 2562. ราชกิจจานุเบกษา.
พิศิษฐ ตัณฑวณิช และพนา จินดาศรี. (2561). ความหมายที่แท้จริงของค่า IOC. วารสารการวัดการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 24 (2), 3-12.
มารุต พัฒผล. (2562). แนวคิดหลักการพัฒนาหลักสูตร. กรุงเทพฯ: ศูนย์ผู้นำนวัตกรรมหลักสูตรและการเรียนรู้.
ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561-2580. (2561). ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561-2580. (พิมพ์ครั้งที่ 1). ฉบับประกาศราชกิจจานุเบกษา.
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย. (2560). รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560. ราชกิจจานุเบกษา.
เรณุมาศ มาอุ่น. (2559). การจัดการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ. วารสารเทคโนโลยีภาคใต้, 9 (2), 169-176.
วิชัย วงษ์ใหญ่. (2554). การพัฒนาหลักสูตรระดับอุดมศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: อาร์แอนด์ ปริ้นท์.
ศากุล ช่างไม้. (2546). การเก็บข้อมูล การจัดการกับข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ. วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน, 9 (3), 164-173.
สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. (2565). แผนด้านการอุดมศึกษา เพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนของประเทศ พ.ศ. 2564-
ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2566-2570. สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม กองยุทธศาสตร์และแผนงาน กระทรวง
การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม .
Best, J.W. (1981). Research in Education (4th ed). New Jersey: Prentice-Hall.