ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์แม่และเด็กของแบรนด์อองฟองต์ (Enfant) ผ่านช่องทางออนไลน์
Main Article Content
Abstract
At present, the online market for mother and child products is becoming more and more competitive and can be divided into many levels from markets with high purchasing power to general markets. Online marketing has become a tool that can help advertise and promote brands to be more well-known for the mother and baby products business (Taokaemai, 2019). The purpose of this study is to study factors influencing purchase decision of Enfant maternal and child products including online marketing mix factors (6P's) and Brand Equity factors. Data were collected from the sample group who bought Enfant maternal and child products through online
channels. A Google form's questionnaire was distributed online using a QR code to a total of 400 samples. The data were analyzed statistically by means of statistical relationship with Multiple Linear Regression. This study found that online marketing mix factors, including product, place, personalization, and privacy, and Brand Equity factors including brand recognition, perceived product quality and brand loyalty influenced the decision to buy Enfant maternal and child products through online channels at the statistically significant level of 0.05
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กมลรัตน์ เส็งวงศ์. (2560). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อของเล่นและของใช้เด็กมือสองทางออนไลน์ของประชากรในเขตกรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์ปริญญาการจัดการมหาบัณฑิต สาขาการจัดการ วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล.
ธนาคารกรุงเทพ. (2564). “ส่องตลาดผลิตภัณฑ์แม่และเด็กในต่างประเทศ โอกาสเติบโตที่น่าสนใจ”. ค้นเมื่อ มกราคม 25, 2566, จาก https://www.bangkokbanksme.com/en/overseas-maternal-and-child-products-market.
ธนาคารกสิกรไทย เคล็ดลับการตลาด. (2564). “เจาะอินไซต์คุณแม่สายเปย์ สร้างโอกาส ทากาไรให้ธุรกิจ”. ค้นเมื่อ ธันวาคม 10, 2565, จาก https://www.kasikornbank.com/th/business/sme/Ksmeknowledge/article/marketingtips/pages/baby-and-mom.aspx.
ธรรมรัตน์ ธารีรักษ์. (2563). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าออนไลน์ผ่านแอปพลิเคชัน ในประเทศไทย. การค้นคว้าอิสระปริญญา หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการตลาด บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสยาม.
ปรีดี นุกุลสมปรารถนา. (2564). “Insight คุณแม่กับโลกออนไลน์ในยุค New Normal 2021 สู่ VIP Parent Platform”. ค้นเมื่อ มกราคม 14, 2566, จาก https://www.popticles.com/insight/insight-newnormal-2021-vip-parent-platform.
เปรมกมล หงษ์ยนต์. (2562). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชั่นออนไลน์(ลาซาด้า)ของผู้บริโภคผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระปริญญา หลักสูตรบริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต สาขาการตลาด บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสยาม.
พัชรี ศักดิ์ศรีพรชัย. (2562). โดยศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อกระบวนการตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑ์นมผงเอส 26 โปรเกรสโกลด์ ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคาแหง.
พิษณุ จงสถิตวัฒนา. (2542). การบริหารหารตลาด การวิเคราะห์กลยุทธ์ และการตัดสินใจ. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วศิกา คีรีวรรณ. (2564). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าเสริมสร้างพัฒนาการสาหรับเด็ก 0-3 ปี ผ่านช่องทางออนไลน์ของผู้ปกครอง ในกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระปริญญา หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาเอกการตลาด คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคาแหง.
วิเชียร วงศ์ณิชชากุล และคณะ. (2550). หลักการตลาด (พิมพ์ครั้งที่2). กรุงเทพฯ: ลดาคอมพิ้ว กราฟฟิกการพิมพ์.
วิภาวี คลังอาวุธ. (2563). ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์และคุณค่าตราสินค้าที่มีผลต่อแนวโน้มพฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์บำรุงหน้า Biotherm ของผู้บริโภค ในกรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์ปริญญา หลักสูตรบริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
อรจิรา แก้วสว่าง. (2564). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดกับการเลือกซื้อสินค้าออนไลน์ผ่านแอพพลิเคชั่น Shopee ของผู้บริโภคผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร. วารสารการวิจัยการบริหารพัฒนา, 11(2), 308-321.
อรุโณทัย ปัญญา. (2562). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์ที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าแฟชั่นผ่านสังคมออนไลน์ (เฟซบุ๊ค) ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ในมหาวิทยาลัยเขตอาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. การค้นคว้าอิสระปริญญา หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารธุรกิจ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.
Aaker, D. (1991). Managing Brand Equity: Capitalizing on the Value of a Brand Name. Free Press: New York, NY.
Pattarat. (2021). “ตลาดแม่และเด็ก ยังเติบโตแม้จานวนเด็กเกิดใหม่ลดลง ผลิตภัณฑ์พรีเมียม-ออร์แกนิคมาแรง”. ค้นเมื่อ กุมภาพันธ์ 22, 2566, จาก https://positioningmag.com/1368682.