พฤติกรรมการเลือกซื้อกระเป๋าแบรนด์เนมมือสอง PURCHASING BEHAVIOR OF SECOND-HAND BRANDED BAGS

Main Article Content

Panatda Kanka
ชิณโสณ์ วิสิฐนิธิกิจา

Abstract

         The objectives of the study on the purchasing behavior for second-hand designer bags were: 1) to study the purchasing behavior for second-hand designer bags, 2) to study the marketing mix factors in selecting second-hand designer bags, 3) to compare the purchasing behavior for second-hand designer bags in terms of personal data, and 4) to study the marketing mix factors affecting the purchasing behavior of selecting second-hand designer bags. The sample group comprised 400 people. The research instrument was a questionnaire. The collected data were analyzed using percentage, mean, t-test, f-test, Chi-square, and multiple regression analysis.


         The results showed that most respondents were female, aged between 21-30 years old, held a bachelor’s degree, worked for private enterprises, and had an average monthly of 20,000-35,000 baht. The behavior of buying second-hand Louis Vuitton shoulder bags included the following: Second-hand bags were bought because they were cheaper than new ones. The purchases were made based on self-made decisions. The bags were bought as birthday presents for lovers and family members through online applications. The products were paid via online banking. The average purchase price was between 25,000-50,000 baht every two years. The average purchase price was 1.7 times. Overall, marketing mix factors were at a high level. The results of the hypothesis testing revealed that gender, age, level of education, occupation, and monthly salary affected the purchasing behavior of selecting second-hand designer bags. The marketing mix factors in terms of marketing promotion influenced the purchasing behavior of picking second-hand designer bags at the statistical significance level of 0.05.

Article Details

Section
Research Articles

References

กัญญ์วรา ศิริผ่อง และกาญณ์ระวี อนันตอัครกุล. (2558). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการซื้อกระเป๋าถือสตรี

แบรนด์เนมมือสองของผู้บริโภคสตรีในกรุงเทพมหานคร. วารสารบริหารธุรกิจศรีนครินทรวิโรฒ, 6 (2),

-111.

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2550). การวิเคราะห์สถิติ: สถิติสําหรับบริหารและวิจัย (พิมพ์ครั้งที่10). กรุงเทพฯ:

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กัลยา วานิชย์ปัญชา. (2560). การใช้SPSS for Windows ในการวิเคราะห์ข้อมูล (พิมพ์ครั้งที่28). กรุงเทพฯ:

สามลดา.

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2560). การวิเคราะห์สถิติขั้นสูงด้วย SPSS for Window (พิมพ์ครั้งที่ 12). กรุงเทพฯ:

สามลดา.

ชัยณรงค์ พิพิธวีรนันท์. (2559). ปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดและพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่เลือกใช้

บริการที่พักประเภทโฮสเทล ในเขตจังหวัดประจวบคีรีขันธ์. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ด.

ณัฏฐ์ชิสา อัฐศักดิ์. (2559). ปัจจัยในการเลือกซื้อสินค้าแบรนด์เนมทางออนไลน์ประเภทกระเป๋า และรองเท้า

สุภาพสตรี. สารนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

บีเจมส์. (2564). BEJAME Thailand แบรนด์เนม…วิกฤติทางใจ จากค่านิยมทางวัตถุ. ค้นเมื่อ มกราคม 15,

, จาก http://www.bejame.com/article/858.

บุญชม ศรีสะอาด. (2560). การวิจัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

ปิยนุช เอกปรีชาชาญ. (2561). พฤติกรรมและปัจจัยในการซื้อสินค้าประเภทกระเป๋าแฟชั่นสตรีผ่านเครือข่าย

สังคมออนไลน์ประเภท Facebook และ Instagram ของประชากรเพศหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร.

สารนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล.

ปรณิศา ยิ้มขลิบ. (2560). พฤติกรรมการซื้อกระเป๋าแบรนด์เนมของผู้บริโภคในอำเภอเมืองเชียงใหม่.

สารนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

รพีภรณ์ นนทแก้ว. (2561). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้า ชาร์ลส แอนด์ คีธ และ ลินน์ ของผู้บริโภค

ในเขตกรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาธุรกิจระหว่างประเทศ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

วินิตรัตน์ อินต๊ะวิยะ. (2560). แผนธุรกิจสินค้าแบรนด์เนมมือสอง แบรนด์เนมซุปเปอร์เกิร์ล. สารนิพนธ์

บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

วรกร จันทราภรณ์. (2559). ส่วนประสมทางการตลาดและการตัดสินใจซื้ออุปกรณ์ Gaming gear. สารนิพนธ์

บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สกุุณา กองชัย. (2557). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อกระเป๋าของนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง.

สารนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณทิต สาขาวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง.

Sanit Rachata. (2563). เศรษฐกิจแย่แต่ยังอยากมีสไตล์กระแสแบรนด์เนมมือสองได้รับความนิยมมากขึ้นในยุค

Covid-19. ค้นเมื่อ มกราคม 10, 2564, จาก https://brandinside.asia/2nd-hand-brand-name-sales-surge-in-2020/.

SHANE ALLEN. (2020). ข้อสำคัญก่อนเลือกซื้อกระเป๋าแบรนด์เนมมือสอง. ค้นเมื่อ มกราคม 10, 2564, จาก

https://covetarlington.com/%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%B3%

E0%B8%84%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%81%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%

B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%8B%E0%B8%B7%E0%B9%89%

E0%B8%AD%E0%B8%81/.

SME Update. (2020). อย่ามองข้าม! ตลาดแบรนด์เนมมือสองกระแสแรง. ค้นเมื่อ มกราคม 10, 2564,

จาก https://www.bangkokbanksme.com/en/second-hand-brand-market-online-shopping.