การจัดการห่วงโซ่อุปทานอ้อยเพื่อเพิ่มขีดความสามารถทางด้านการแข่งขัน ในอำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี SUPPLY CHAIN MANAGEMENT OF SUGAR CANE TO ENHANCE COMPETITIVE ADVANTAGE IN DAN CHANG DISTRICT SUPHANBURI PROVINCE

Main Article Content

ศศิพิมพ์มาศ หงษ์สมบัติ

Abstract

This study aims to 1) study the context and general conditions of the sugar cane supply chain in Dan Chang district, Suphanburi province; 2) study sugar cane supply chain management approaches in Dan Chang district, Suphanburi province to support the competitive advantages of the farmers in Dan Chang district, Suphanburi province; and 3) analyze the activities of the sugar cane supply chain to add value to the farmers in Dan Chang district, Suphanburi province. The study employs the primary and secondary data from related documents, journals, observations, questionnaires and interviews. The data analysis uses descriptive analysis and content analysis. The results show that sugar cane supply chain activities have a process of adding value to the farmers in Dan Chang district, Suphanburi province, all through the production line. This includes activities such as planning, finding raw materials, production, inventory management, delivery and moving of raw materials and goods. It is an integrated management of the whole process from upstream to midstream to downstream management for maximum returns. This is both directly and indirectly connected to the competitiveness and performance of the organization. Moreover, sugar cane supply chain activities add value to the farmers in Dan Chang district, Suphanburi province. The activities emphasize good business relationships leading to good business alliance based on trust, communication, value creation, exchange of benefits that lead to the increase of both the quantity and the quality of sugar cane.

Article Details

Section
Publication Ethics
Author Biography

ศศิพิมพ์มาศ หงษ์สมบัติ, คณะศิลปศาสตร์ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสุพรรณบุรี

    ชื่อ - นามสกุล (ภาษาไทย) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศศิพิมพ์มาศ หงษ์สมบัติ

     ชื่อ - นามสกุล (ภาษาอังกฤษ) Miss. Sasipimmas Hongsombud

     หมายเลขบัตรประจำตัวประชาชน 5-3399-00016-17-1

     ตำแหน่งปัจจุบัน  ผู้ช่วยศาสตราจารย์

     หน่วยงานและสถานที่อยู่ที่ติดต่อได้สะดวก มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ วิทยาเขตสุพรรณบุรี

                                                    เลขที่ 1 หมู่ 4  ตำบลบัวทอง ถนนมาลัยแมน

                                                    อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี ๗๒๐๐๐

                                                    โทรศัพท์ 035-545744-5 โทรสาร 035-555263

                                                    โทรศัพท์เคลื่อนที่ 08-1793-0360       

                                                    E-mail   : Hongsombud@hotmail.com

     ประวัติการศึกษา:

        พ.ศ. 2540  ปริญญาบริหารธุรกิจบัณฑิต (บธ.บ.) วิชาเอก การบัญชี

                        มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล

        พ.ศ. 2548  ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม) วิชาเอก การบัญชี

                       มหาวิทยาลัยรามคำแหง

        พ.ศ. 2555  ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) สาขาวิชาการบัญชี

                         มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

สาขาวิชาที่มีความชำนาญพิเศษ:

             การวิจัย การบัญชี การเงินธุรกิจ การตลาด การจัดการ เศรษฐศาสตร์ บริหารธุรกิจ

ผลงานทางวิชาการ:

ตำรา: รายวิชา การจัดการการเงินและการบัญชี (Financial Administration and Accounting)

          เอกสารประกอบการสอน: รายวิชา การบริหารโครงการ (Project Management)

          งานวิจัย:

             หัวหน้าโครงการวิจัย

  1. หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความคิดสร้างสรรค์ตามนโยบายไทยแลนด์ 4.0 ของนักศึกษา คณะศิลปศาสตร์ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตภาคกลาง ทุนคณะศิลปศาสตร์ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2561 นำเสนอในที่ประชุมในระดับนานาชาติ The 2nd National and International Conference on Humanities and Social Sciences, On the 4th -7th of September 2019 in Manadalay, Myanmar
  2. หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง การบริหารจัดการผลิตภัณฑ์ประเภทสินค้าของที่ระลึกในท้องถิ่นเพื่อเพิ่มรายได้สำหรับการท่องเที่ยวในจังหวัดสุพรรณบุรี ทุนสภาวิจัยแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2561
  3. หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้เพื่อสร้างความทรหดอดทนของนักศึกษา สถาบันการพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ทุนสภาวิจัยแห่งชาติ ปีงบประมาณ2561
  4. หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง ปัจจัยที่ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่มีต่อสังคมและ วัฒนธรรมของแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดสุพรรณบุรี ทุนคณะศิลปศาสตร์ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2560 นำเสนอในที่ประชุมระดับนานาชาติ 2018 2nd International Conference on Applied Economics and Business (ICAEB 2018) July 20-22, 2018, Rome, Italy และตีพิมพ์ในวารสาร International Journal of Trade, Economics and Finance, Vol.9, No.4, August 2018
  5. 5. หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง กระบวนการมีส่วนร่วมในการพัฒนากีฬาเพื่อส่งเสริมสุขภาพให้เหมาะ กับกลุ่มผู้สูงอายุในชุมชนวัดกลาง อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี ทุนสภาวิจัยแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2560
  6. หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง การจัดการห่วงโซ่อุปทานอ้อยเพื่อเพิ่มขีดความสามารถทางด้านการแข่งขัน: กรณีศึกษาอำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี ทุนสภาวิจัยแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2559
  7. 7. หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความยุติธรรมในองค์กรที่ส่งผลต่อความตั้งใจทำงานและพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรของสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตภาคกลาง ทุนคณะศิลปศาสตร์ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2559
  8. 8. หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความสำเร็จของการท่องเที่ยวในชุมชนตลาดร้อยปีสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี ทุนสภาวิจัยแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2558 ตีพิมพ์ในวารสารวิทยาการจัดการสมัยใหม่ ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2561)
  9. 9. หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างความทุ่มเทในการทำงานและผลสำเร็จของงาน ทุนสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2558 ตีพิมพ์ในวารสาร Prae-wa Kalasin Journal of Kalasin University ISSN 2351 - 0455
  10. 10. หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง โมเดลความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะด้านการวิจัยประสิทธิภาพงานวิจัย ความน่าเชื่อถือของผู้วิจัยและคุณภาพงานวิจัย: หลักฐานจากสถาบันพลศึกษา วิทยาเขตภาคกลางในประเทศไทย ทุนสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2557 นำเสนอผลงาน National and International Research Conference 2015: NIRC 2015.
  11. หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้ประโยชน์จากสารสนเทศทางการบัญชี, ความสามารถในการจัดสรรทรัพยากร, ประสิทธิภาพการตัดสินใจและความสำเร็จขององค์กรธุรกิจ SMEs ในจังหวัดสุพรรณบุรีทุนคณะศิลปศาสตร์ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2556 วารสารการประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานทางวิชาการในงาน “ราชภัฏศรีสะเกษวิชาการ ครั้งที่ 2, 2015
  12. 12. หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง ประสิทธิภาพการจัดการความเสี่ยงและผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมาย: การตรวจสอบเชิงประจักษ์ของสถาบันการพลศึกษาในประเทศไทย ทุนสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2556 ตึพิมพ์ในวารสาร International Journal of Business Research, 13(4): 167-176/ปี 2013

References

ฉัฐยา ตวงสุวรรณ. (2553). แนวทางการสร้างมูลค่าเพิ่มในห่วงโซ่อุปทานของอุตสาหกรรมข้าวไทย.
วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี.
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ชัยณรงค์ ไผ่รุ่ง. (2552). ผลกระทบของการจัดการความร่วมมือและคุณภาพสารสนเทศที่มีต่อประสิทธิผล
ห่วงโซ่อุปทานของอุตสาหกรรมอาหารในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชา
การจัดการเชิงกลยุทธ์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
Langley, A., Smallman, C., T., Soukas, H. & Van de Ven, A. (2009). Call for papers: Special Research
Forum on Process Studies of Change in Organization and Man-agement.
Academy of Management Journal, 52 (6), 29–63
La Londe, B.J. & Masters, J.M. (1994). Emerging Logistics Strategies: Blueprints for the Next Century.
International Journal of Physical Distribution & Logistics Management, 24 (7), 35-47.
https://doi.org/10.1108/09600039410070975.
Lee, C.W., Kwon, I.G. & Severance, D. (2007). Relationship between supply chain performance and
degree of linkage among supplier, internal integration, and customer. Supply Chain
Management: An International Journal, 12(6), 444-452.
Narasimhan, R. & Kim, S.W. (2002). Effect of supply chain integration on the relationship between
diversification and performance: evidence from Japanese and Korean firms.
Journal of Operations Management, 20, 303–323.
Photis M. Panayides & So.Meko. (2005). Logistics Service Provider-client Relationships.
Dissertation Abstracts International, E41, 179-200.
Watt, C.A. & Hahn. (2006). Supplier Development Programs: An Empirical Analysis. Journal of
Supply Chain Management, 29(2), 10-17.