ทัศนคติและพฤติกรรมการใช้แอปพลิเคชัน ธ.ก.ส. A-Mobile ของลูกค้าธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

Main Article Content

วรลักษณ์ เจริญผล
Supit Ritkaew
นีรนาท แก้วประเสริฐ ระฆังทอง
นิยม กำลังดี
สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์

Abstract

The objective of this research study was to study the relationship between behaviors of using BAAC A-Mobile application, demographic factors, and attitudes towards BAAC A-Mobile application among BAAC customers in Surat Thani Province. The sample of this study was 400 customers. In terms of behavior of using BAAC A-Mobile application, the main purpose of applying for the service was because it was convenient, fast and time-saving because the customers could conduct transactions via BAAC A-Mobile application anytime and anywhere. The most commonly used transactions were balance checking, loans, savings lottery via Taweechoke Savings Deposit Account. The average transaction value per time was less than 5,000 baht.


The frequency of using the services was once to twice per month. The most common time to use the services was 12.00 - 17:59 hrs. The persons influencing the registration for BAAC A-Mobile application were the branch bank staff. Most of the staff were stationed at Ban Na San branch, Surat Thani Province. The solution to problems from using the services was inquiring the bank staff stationed at a nearby branch.


The hypothesis testing results showed that 1) the demographic factors including gender, age, occupation, marital status, education level, income level, duration of service usage were related to the behaviors of using BAAC A-Mobile application; and 2) the attitudes towards the products, pricing, service channels, and physical characteristics, processes, promotions and personnel were related to the behaviors of using BAAC A-Mobile application.

Article Details

Section
Research Articles

References

จิวรัส อินทร์บำรุง. (2553). ส่วนประสมทางการตลาดและทัศนคติของผู้ใช้บริการอินเตอร์เน็ตแบงค์กิ้ง บมจ.

ธนาคารกรุงไทย ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม. การค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต

สาขาวิชาการประกอบการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร.

จุฑาภรณ์ ไร่วอน. (2557). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้บริการบัวหลวงไอแบงก์กิ้งของธนาคารกรุงเทพ จำกัด

(มหาชน) กรณีศึกษาผู้ใช้บริการบัวหลวงไอแบงก์กิ้ง ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน).

วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ

มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ชนม์นิกานต์ อ้อวิจิตร. (2550). พฤติกรรมการใช้บริการธนาคารทางอินเทอร์เน็ตของลูกค้าธนาคารกรุงไทย จำกัด

(มหาชน). ภาคนิพนธ์ปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์

มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร. (2561). ธ.ก.ส. เปิดตัว A-Mobile / QR Code ตอบโจทย์ไลฟ์

สไตล์ยุคดิจิทัลเพื่อยกระดับสู่เกษตรกร 4.0. ค้นเมื่อ กันยายน 7, 2561, จาก https://www.baac.or.th.

ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2561). ธุรกรรมการชำระเงินผ่านบริการ Mobile banking และ Internet

banking. ค้นเมื่อ กันยายน 15, 2561, จาก http://www2.bot.or.th.

นัฐพล รักษา. (2559). การรับรู้และทัศนคติที่มีผลต่อพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตแบงก์กิ้งของลูกค้าธนาคาร

กรุงเทพ สาขาเอ็กเชน ทาวเวอร์. การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิชาการระดับชาติ UTCC

Academic Day ครั้งที่ 2, 42-45. ค้นเมื่อ ตุลาคม 1, 2561, จาก http://eprints.utcc.ac.th/6008/1/.

บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2543). สถิติวิเคราะห์เพื่อการวิจัย. กรุงเทพฯ : เรือนแก้วการพิมพ์.

วรรณวิมล ชูศูนย์. (2551). ทัศนคติของลูกค้าต่อบริการธนาคารทางอินเทอร์เน็ตของธนาคารกรุงไทย จำกัด

(มหาชน) ในอำเภอเมืองราชบุรี. การค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต

สาขาวิชาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

อภิชาติ เทศสวัสดิ์วงศ์. (2553). ทัศนคติและพฤติกรรมการใช้บริการธุรกรรมทางการเงินบนมือถือของผู้บริโภค

ในกรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด บัณฑิตวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ.