ANTIMICROBIAL ACTIVITY OF THE EXTRACTS FROM ALBIZIA LEBBECK

Main Article Content

ศจิษฐา ประเสริฐกุล

Abstract

The objective of this research was to study the extraction techniques and antimicrobial activity of crude extracts of Albizia lebbeck, with parts of barks and roots by the extraction method using Hexane, Dichloromethane, Ethyl Acetate and Methanol as solvents. The crude extracts were obtained from Agar disc-diffusion method and tested for resistance against 9 species of microorganisms: Staphylococcus aureus, Bacillus cereus, Bacillus thuringiensis, Escherichia coli, Enterobacter aerogenes, Salmonella typhimurium, Aspergillus niger, Candida albicans and Saccharomyces cerevisiae of clear zone diameter.  The results found that the percentage yield (%) of crude extracts from barks was higher than the root extracts from the Albiza lebbeck. The optimum extract concentration in the antimicrobial activity test was 0.1% m/v. The Ethyl Acetate crude extract from the barks and roots had antimicrobial activities. The Ethyl Acetate crude extract from the bark of Staphylococcus aureus was the best at the level of 11.08 mm. The most effective resistance against Bacillus cereus was 12.66 mm in Gram-negative bacteria. The crude extract from the roots was the best in Escherichia coli at 10.00 mm, but no gram-negative antibacterial was found in the crude extract. The Hexane crude extract had the best antifungal effect, which could resist Saccharomyces cerevisiae the best. The crude extract from the barks had the resistance level at 8.30 mm. The crude extract from the roots had the resistance level at 10.08 mm. The crude extract from the roots of Albizia lebbeck had the resistance level of 10.80 mm. The Albizia lebbeck could be extracted by the solvent extraction method and crude extracts from the roots of Albizia lebbeck, and the barks had better antimicrobial activities than the roots.

Article Details

Section
Research Articles
Author Biography

ศจิษฐา ประเสริฐกุล, คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี

1
การประเมินความสูญเสียหลังการเก็บเกี่ยวในการจัดการสายโซ่อุปทานของยอดผักหวานป่าในจังหวัดกาญจนบุรี
ปี 2561 :
2
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมวิถึสุขภาพชุมชนมอญ อำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี
ปี 2559 :
3
การพัฒนาคู่มือการใช้ตู้ปลอดเชื้อต้นทุนต่ำเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน
ปี 2558 : หัวหน้าโครงการ
4
การศึกษาคุณลักษณะบัณฑิตของผู้ใช้บัณฑิต คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี : สาขาวิชาวิทยาศาสตร์
ปี 2557 :
5
การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อระดับความสามารถในการประยุกต์ใช้สิ่งรอบตัวเพื่อสร้างอุปกรณ์วิทยาศาสตร์อย่างง่ายของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
ปี 2557 : หัวหน้าโครงการ

References

เฉลียว เพชรทอง. (2552). การศึกษาสารด้านเชื้อจุลชีพของสารสกัดจากพืชสมุนไพรในจังหวัดกาญจนบุรี.

ค้นเมื่อสิงหาคม 6, 2559. จาก http://rir.nrct.go.th/.

ชลิดา อนุพันธ์. (2558). ฤทธิ์ต้านเชื้อจุลชีพของสารสกัดจากมะสัง. ค้นเมื่อ สิงหาคม 6, 2559.

จาก http://ethesis.kru.ac.th/files/V59_66/Charida%20%20Anupan.pdf.

ฐานข้อมูลพรรณไม้ องค์กรสวนพฤกษศาสตร์. (2559). ตะคึก. ค้นเมื่อ สิงหาคม 6, 2559.

จาก http://www.qsbg.org/Database/plantdb/.

ณัฐกานต์ วงศ์สีสม, จามจุรี จินะตา, บุษบา มะโนแสน, จิรรัชต์ กันทะขู้, สุรีพร วันควร และ สุภวดี ศรีแย้ม. (2557).

การศึกษาฤทธิ์ต้านแบคทีเรียก่อโรคในอาหารของน้ำมันหอมระเหยจากมะแขว่น. วารสารวิจัยและพัฒนา

มจธ, 37(1), 3-15.

ณัฐา พัฒนากุล. (2554). ศึกษาวิเคราะห์และทบทวนข้อกำหนดยีสต์และราในอาหาร. ค้นเมื่อ สิงหาคม 20, 2559.

จาก http://iodinethailand.fda.moph.go.th/kmfood/file/339.pdf.

ธีระพงษ์ ขันทเจริญ อรพิน เกิดชูชื่น และ ณัฎฐา เลาหกุลจิตต์. (2553). ประสิทธิภาพการเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ

จากสารสกัดเปลือกและเมล็ดขององุ่นพันธุ์คาร์ดินัล. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร, 41 (3/1), 617-620.

ธีรเดช ชีวนันทชัย และ อดิรักษ์ กาญจนหฤทัย. (2548). การจําลองแบบและการทดลองของการกลั่นน้ำมันหอม

ระเหยจากผิวมะกรูด. เอกสารการประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครื่องกลแห่งประเทศไทย

ครั้งที่ 19. ภูเก็ต.

พีรพงษ์ พึ่งแย้ม. (2558). การเตรียมสารสกัดหยาบจากพืชป่าชายเลนและฤทธิ์ยับยั้งแบคทีเรียก่อโรค. วารสาร

มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต. ค้นเมื่อ สิงหาคม 15, 2559. จาก http://academic-paper.pkru.ac.th/

_FH2BC69.pdf.

วีระชัย ณ นคร. (2544). สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์. เล่ม 5 พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร:

โอ.เอส. พริ้นติ้ง เฮาส์.

สุนันทา ข้องสาย และ ชาคริยา ฉลาด. (2558). ฤทธิ์ต้านแบคทีเรียของสารสกัดจากปรงทะเลที่พบบริเวณ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง. วารสารวิชาการและวิจัย มทร.พระนคร,

ฉบับพิเศษ, 363-368.

สำนักงานวัฒนธรรม จังหวัดกาญจนบุรี. (2557). คุณค่าโภชนาการของตะคึก. ค้นเมื่อ สิงหาคม 6, 2559.

จาก http://pr.prd.go.th/kanchanaburi/ewt_news.php?nid=576&filename=index.

สำนักส่งเสริมพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. (2557). จุลชีพ. ค้นเมื่อ สิงหาคม 16, 2559.

จาก http://www.nstda.or.th/nstda-r-and-d/17065-bacteria-yeast.

ศรัญญา พรศักดา, มาระตรี เปลี่ยนศิริชัย, กิตติ ศรีสะอาด, มัณฑนา นครเรียบ, ประชุมพร เลาห์ประเสริฐ,

ทวีรัตน์ วิจิตร สุนทรกุล และทรงศิลป์ พจน์ชนะชัย. (2553). ผลของสารสกัดจากมะเขือพวงในการยับยั้ง

แบคทีเรียก่อโรค Escherichia coli, Staphylococcus aureus และ Salmonella typhimurium.

วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร, 41(3/1), 573-576.

อรอนงค์ รัชตราเชนชัย. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเชื้อพาหะนำโรค. ศูนย์ข้อมูลโรคติดต่อและพาหะนำโรค. ค้นเมื่อ

สิงหาคม 15, 2559, จาก http://webdb.dmsc.moph.go.th.