INTEGRATED RISK MANAGEMENT AFFECTING THE VALUE ADDED OF THE TOURISM AND SPORTS BUSINESS IN SUPHANBURI PROVINCE

Main Article Content

ศศิพิมพ์มาศ หงษ์สมบัติ
Issares Chaiya
Wantita Jabun
Pranom Phanasetnet

Abstract

This study aims to 1) investigate the relationship between integrated risk management and an increase in the SMEs value in Suphanburi Province. Integrated risk management consists of operational risk management, regulatory risk management, financial risk management and product market risk management. It is hypothesized as an independent variable in the study. The data were collected from the study’s population comprising 292 SMEs in tourism and hotel business in Suphanburi Province. The statistics used for the data analysis includes multivariate analysis and multiple regression analysis. The results show that integrated risk management, operational risk management and product market risk management have an important positive impact on increasing the SMEs value in Suphanburi Province at the statistically significant level of 0.01. On the other hand, financial risk management and regulatory risk management have no significant positive impact on increasing the SMEs value in Suphanburi Province, with the statistical significance at the 0.10 level.

Article Details

Section
Publication Ethics
Author Biography

ศศิพิมพ์มาศ หงษ์สมบัติ, คณะศิลปศาสตร์ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสุพรรณบุรี

    ชื่อ - นามสกุล (ภาษาไทย) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศศิพิมพ์มาศ หงษ์สมบัติ

     ชื่อ - นามสกุล (ภาษาอังกฤษ) Miss. Sasipimmas Hongsombud

     หมายเลขบัตรประจำตัวประชาชน 5-3399-00016-17-1

     ตำแหน่งปัจจุบัน  ผู้ช่วยศาสตราจารย์

     หน่วยงานและสถานที่อยู่ที่ติดต่อได้สะดวก มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ วิทยาเขตสุพรรณบุรี

                                                    เลขที่ 1 หมู่ 4  ตำบลบัวทอง ถนนมาลัยแมน

                                                    อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี ๗๒๐๐๐

                                                    โทรศัพท์ 035-545744-5 โทรสาร 035-555263

                                                    โทรศัพท์เคลื่อนที่ 08-1793-0360       

                                                    E-mail   : Hongsombud@hotmail.com

     ประวัติการศึกษา:

        พ.ศ. 2540  ปริญญาบริหารธุรกิจบัณฑิต (บธ.บ.) วิชาเอก การบัญชี

                        มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล

        พ.ศ. 2548  ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม) วิชาเอก การบัญชี

                       มหาวิทยาลัยรามคำแหง

        พ.ศ. 2555  ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) สาขาวิชาการบัญชี

                         มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

สาขาวิชาที่มีความชำนาญพิเศษ:

             การวิจัย การบัญชี การเงินธุรกิจ การตลาด การจัดการ เศรษฐศาสตร์ บริหารธุรกิจ

ผลงานทางวิชาการ:

ตำรา: รายวิชา การจัดการการเงินและการบัญชี (Financial Administration and Accounting)

          เอกสารประกอบการสอน: รายวิชา การบริหารโครงการ (Project Management)

          งานวิจัย:

             หัวหน้าโครงการวิจัย

  1. หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความคิดสร้างสรรค์ตามนโยบายไทยแลนด์ 4.0 ของนักศึกษา คณะศิลปศาสตร์ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตภาคกลาง ทุนคณะศิลปศาสตร์ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2561 นำเสนอในที่ประชุมในระดับนานาชาติ The 2nd National and International Conference on Humanities and Social Sciences, On the 4th -7th of September 2019 in Manadalay, Myanmar
  2. หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง การบริหารจัดการผลิตภัณฑ์ประเภทสินค้าของที่ระลึกในท้องถิ่นเพื่อเพิ่มรายได้สำหรับการท่องเที่ยวในจังหวัดสุพรรณบุรี ทุนสภาวิจัยแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2561
  3. หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้เพื่อสร้างความทรหดอดทนของนักศึกษา สถาบันการพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ทุนสภาวิจัยแห่งชาติ ปีงบประมาณ2561
  4. หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง ปัจจัยที่ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่มีต่อสังคมและ วัฒนธรรมของแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดสุพรรณบุรี ทุนคณะศิลปศาสตร์ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2560 นำเสนอในที่ประชุมระดับนานาชาติ 2018 2nd International Conference on Applied Economics and Business (ICAEB 2018) July 20-22, 2018, Rome, Italy และตีพิมพ์ในวารสาร International Journal of Trade, Economics and Finance, Vol.9, No.4, August 2018
  5. 5. หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง กระบวนการมีส่วนร่วมในการพัฒนากีฬาเพื่อส่งเสริมสุขภาพให้เหมาะ กับกลุ่มผู้สูงอายุในชุมชนวัดกลาง อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี ทุนสภาวิจัยแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2560
  6. หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง การจัดการห่วงโซ่อุปทานอ้อยเพื่อเพิ่มขีดความสามารถทางด้านการแข่งขัน: กรณีศึกษาอำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี ทุนสภาวิจัยแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2559
  7. 7. หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความยุติธรรมในองค์กรที่ส่งผลต่อความตั้งใจทำงานและพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรของสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตภาคกลาง ทุนคณะศิลปศาสตร์ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2559
  8. 8. หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความสำเร็จของการท่องเที่ยวในชุมชนตลาดร้อยปีสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี ทุนสภาวิจัยแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2558 ตีพิมพ์ในวารสารวิทยาการจัดการสมัยใหม่ ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2561)
  9. 9. หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างความทุ่มเทในการทำงานและผลสำเร็จของงาน ทุนสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2558 ตีพิมพ์ในวารสาร Prae-wa Kalasin Journal of Kalasin University ISSN 2351 - 0455
  10. 10. หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง โมเดลความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะด้านการวิจัยประสิทธิภาพงานวิจัย ความน่าเชื่อถือของผู้วิจัยและคุณภาพงานวิจัย: หลักฐานจากสถาบันพลศึกษา วิทยาเขตภาคกลางในประเทศไทย ทุนสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2557 นำเสนอผลงาน National and International Research Conference 2015: NIRC 2015.
  11. หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้ประโยชน์จากสารสนเทศทางการบัญชี, ความสามารถในการจัดสรรทรัพยากร, ประสิทธิภาพการตัดสินใจและความสำเร็จขององค์กรธุรกิจ SMEs ในจังหวัดสุพรรณบุรีทุนคณะศิลปศาสตร์ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2556 วารสารการประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานทางวิชาการในงาน “ราชภัฏศรีสะเกษวิชาการ ครั้งที่ 2, 2015
  12. 12. หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง ประสิทธิภาพการจัดการความเสี่ยงและผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมาย: การตรวจสอบเชิงประจักษ์ของสถาบันการพลศึกษาในประเทศไทย ทุนสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2556 ตึพิมพ์ในวารสาร International Journal of Business Research, 13(4): 167-176/ปี 2013

References

กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. (2562). คลังข้อมูลธุรกิจ. ค้นเมื่อ มิถุนายน 22, 2562, จาก http://www.dbd.go.th.

นฤนาถ เอี่ยมตระกูล. (2553). การบริหารความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงานของฝ่ายก่อสร้าง. วิทยานิพนธ์วิศวกรรม

ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมโยธา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

นฤมล สะอาดโฉม. (2550). การบริหารความเสี่ยงองค์กร. กรุงเทพฯ: ฐานการพิมพ์.

ปัญจพร ศรีชนาพันธ์. (2547). การบริหารความเสี่ยงของกลุ่มธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ในเขตอำเภอเมืองเชียงใหม่.

การค้นคว้าแบบอิสระบัญชีมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

พรตพร อาฒยะพันธ์. (2550). ผลกระทบของประสิทธิภาพการบริหารความเสี่ยงที่มีต่อผลการดำเนินงาน

ของธุรกิจ SMEs ในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์การจัดการมหาบัณฑิต สาขาการบัญชี

และการจัดการ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

วรกานต์ คนอยู่, คำนึง ทองเกตุ และวีรพันธุ์ ศิริฤทธิ์. (2558). การบริหารความเสี่ยงของผู้บริหารสถานศึกษา

ระดับประถมศึกษาที่สอนแบบคละชั้นในเขตภาคเหนือตอนล่าง. Veridian E-Journal, Silpakorn

University, 8(1), 1320-1330.

วาสนา จรูญศรีโชติกำจร.(2550). ผลกระทบของประสิทธิภาพการจัดการโลจิสติกส์ที่มีต่อความได้เปรียบทางการ

แข่งขันของธุรกิจอุตสาหกรรมอาหารในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต

สาขาวิชาการจัดการเชิงกลยุทธ์ คณะการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สุปราณี ทิพยนาสา. (2552). ผลกระทบของประสิทธิภาพการจัดการความเสี่ยงที่มีต่อความสามารถในการ

แข่งขันของธุรกิจ SMEs ในเขตภาคกลาง. วิทยานิพนธ์ หลักสูตรปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

Aaker, David A., Kumar, V. and Day, George S. (2001). Marketing Research. New York:

John Wiley and Sons.

Armstrong, J. S. & Overton Terry S. (1977). Estimating non-response Bias in Mail Surveys.

Journal of Marketing Research, 14, 396-402.

Cronbach, L. (1974). Essentials of Psychological Testing 3rd Ed. New York: Harper and Row.

Gustavo, C & Branddy, R. (2002). The Development of a Measure of Prosocial Behaviors for Late

Adolescents. Journal of Youth and Adolescence, 31(1), 31-44.

Hair, J.F. and others. (2006). Multivariate data analysis. 6th ed. Upper Saddle River, N.J.:

Pearson Education Inc.

Jaccard, J., & Turrisi, R. (2003). Interaction effects in multiple regression. Sage university papers

series. Quantitative applications in the social sciences. Newbury Park: Sage

Publications.

Krejcie, R.V. & Morgan, D.W. (1970). Determining sample size for research activities.

Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607-608.

Meulbroek, L.K. (2002). Integrated Risk Management for the Firm: A Senior Manager”s

Guide. Harvard Business School Soldiers Field Road Boston, MA.

Nunnally, J.C., & Bernstein.I, H. (1994). Psychometric theory (3thed.) New York: MC Graw-Hill.