การบริหารสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศตามหลักอิทธิบาท 4 ในศตวรรษที่ 21
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิชาการฉบับบนี้เป็นเรื่องการบริหารสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศตามหลักอิทธิบาท 4 ในศตวรรษที่ 21 เป็นการบริหารสถานศึกษาโดยใช้กระบวนการและหลักการบริหารสู่ความเป็นเลิศ ประกอบด้วย 5 ขั้นตอนดังนี้ 1) การวางแผน 2) การจัดองค์การ 3) การบังคับบัญชาสั่งการ 4) การประสานงาน และ 5) การควบคุม ในการบริหารสถานศึกษาให้เป็นเลิศได้นั้น ผู้บริหารต้องมีทักษะและมีคุณลักษะที่สอดคล้องกับศตวรรษที่ 21 ส่วนในด้านครูสอนจะต้องมีคุณลักษณะและมีการปรับเปลี่ยนบทบาทหน้าที่ของตนเองให้แตกต่างจากเดิมไปสู่บทบาทของครูผู้สอนในศตวรรษที่ 21 นอกจากนี้จะต้องพัฒนาด้านผู้เรียน ให้มีคุณภาพตามทักษะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 คือทักษะ 3R8C และสิ่งสำคัญคือผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน และผู้เรียน ต้องนำหลักพุทธธรรม คือหลักอิทธิบาท 4 ประกอบด้วย ฉันทะคือความพอใจ วิริยะคือความเพียรพยายาม จิตตะคือมีจิตใจมุ่งมั่น ฝักใฝ่ และวิมังสาคือไตร่ตรอง พิจารณาใคร่ควรอย่างรอบครอบ นำมาใช้ในการบริหารสถานศึกษา การสอน และการเรียน จะทำให้ประสบความสำเร็จและส่งผลให้สถานศึกษาก้าวสู่ความเป็นเลิศในทีสุด
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ส่งมาขอรับการตีพิมพ์ในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ จะต้องไม่เคยตีพิมพ์หรืออยู่ระหว่างการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่น รวมทั้งผู้เขียนจะต้องคำนึงถึงจริยธรรมการวิจัย ไม่ละเมิดหรือคัดลอกผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง ซึ่งทางวารสารฯ ได้กำหนดความซ้ำของผลงาน ด้วยโปรแกรม CopyCat เว็บ Thaijo ในระดับ ไม่เกิน 25%
ในกรณีที่ บทความวิจัยมีกระบวนการวิจัยเกี่ยวข้องกับมนุษย์ ผู้นิพนธ์จะต้องส่งหลักฐานการรับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์มาประกอบการลงตีพิมพ์ด้วยจึงจะได้รับการพิจารณาลงตีพิมพ์ในวารสาร
ผู้เขียนบทความจะต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ รวมทั้งระบบการอ้างอิงต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ โดยรวมทั้งทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้น และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์และวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579. แหล่งที่มา https://www.moe.go.th/แผนการศึกษาแหล่งชาติ-พ-ศ-2560/ สืบค้นเมื่อ 23 ธ.ค. 2566.
ฉัตรชัย หวังมีจงมี. (2560). สมรรถนะครูไทยในศตวรรษที่ 21 ปรับการเรียนเปลี่ยนสมรรถนะ. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ.
ช่วงโชติ พันธุเวช. (2551). แม่แบบการจัดการศึกษาเชิงคุณภาพ SIPPO Model. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์สื่อและสิ่งพิมพ์แก้วเจ้าจอมมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
ชาติ แจ่มนุช. (2545). สอนอย่างไรให้คิดเป็น. กรุงเทพมหานคร: เลี่ยงเชียง.
ถนอมพร เลาหจรัสแสง. (2557). ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 เพื่อการพัฒนาอาจารย์ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เชียงใหม่: สำนักบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ธงชัยสันติวงษ์. (2539). องค์การและการบริหาร. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพมหานคร: ไทยพัฒนาพานิช.
ธันยพร พรมการ. (2559). คุณลักษณะครูในศตวรรษที่ 21 ในโรงเรียนที่มีนักเรียนข้ามวัฒนธรรมเชียงราย.วารสารงานวิจัยกาสะลองคา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย. 11(2). 95.
พระโฆษิต โฆสิตธมฺโม. (2565). การประยุกต์ใช้หลักอิทธิบาท 4 เพื่อการบริหารองค์กรสู่ความสำเร็จ. วารสารธรรมวัตร. 3(1). 39-47.
พระธรรมโกศาจารย์ (พุทธทาสภิกขุ). (2549). การงานที่เป็นสุข. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ธรรมสภา.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2549). การเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพมหานคร: สุขภาพใจ.
พระมหาณรงค์ศักดิ์ ฐิตญาโณ. (2546). พระอภิธรรมปิฎก 1. กรุงเทพมหานคร :โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ภูษิต ปุลันรัมย์ และคณะ.(2561). การบริหารเวลา การบริหารชีวิตตามวิถีพุทธในศตวรรษที่ 21. วารสารวิชาการธรรมทรรศน์. 18(2). 295-304.
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ว.วชิรเมธี. (2551). คนสำราญงานสำเร็จ. พิมพ์ครั้งที่ 14. กรุงเทพมหานคร: อมรินทร์.
สมหมาย อ่ำดอนกลอย. (2556). บทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. 7(1). 1-7.
อานนท์ ศักดิ์วรวิชญ์. (2560). คุณลักษณะของคนไทย 4.0 ที่ต้องปฏิรูปจะช่วยให้ Thailand 4.0 เป็นความจริง. แหล่งที่มา http://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9600000002086 สืบค้นเมื่อ 24 ธ.ค. 2566.
George Couros. (2010). The 21st Century Principal. From http://connectedprincipals.com/archives/1663. Retrieved December 21, 2023.
Griffin, Ricky W. (2013). Management Principles and Practices. 11th ed. Canada: Nelson Education.
Kharbach, M. (2015). The 20 digital skills every 21st century teacher should have. From http://www.educatorstechnology.com/2012/06/33-digital-skills-every-21stcentury.html Retrieved December 24, 2023.
March, T. (2012). 21st Century teaching skills. From http://tommarch.com/strategies/skills-checklist/ Retrieved December 24, 2023.
Martin, J. (2010). The meaning of the 21st century. Bangkok, Inc.
Saavedra, A. R. & Opfer, V. D. (2012). Teaching and learning 21st century skills: Lessons. The learning science. Asia Society Partnership for Global Learning: RAND Corporation.
Simmon, C. (n.d.). Teacher skills for the 21st century. From http://www.ehow.com/list_6593189_teacher-skills-21st-century.html Retrieved December 24, 2023.
Thailand Development Research Institute. (2013). Basic Education Reform Preparation of Strategic the responsibility. From https://tdri.or.th/wp-content/uploads/2014/06/wb103.pdf Retrieved December 24, 2023.