ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา
Main Article Content
บทคัดย่อ
ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษาเป็นการรวมตัว ร่วมมือร่วมใจ และร่วมเรียนรู้ร่วมกันของครู ผู้บริหาร และนักการศึกษา บนพื้นฐานความสัมพันธ์แบบกัลยาณมิตร มีวิสัยทัศน์ คุณค่า เป้าหมาย และภารกิจร่วมกันโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง พบเอง เห็นเอง และเปลี่ยนประสบการณ์และพฤติกรรมด้วนตนเอง พิจารณาองค์ประกอบด้านความแตกต่างระหว่างบุคคลโดยมีกระบวนการจัดการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษาด้วยขั้นตอนง่ายๆ การวางแผนด้วยความร่วมมือ การกำหนดความคาดหวังในระดับสูง เริ่มต้นจากจุดเล็กๆ ศึกษาและใช้ข้อมูล วางแผนเพื่อความสำเร็จ นำสู่สาธารณะรวมถึงฝึกฝนร่างกายและหล่อเลี้ยงสมองให้แก่ผู้เรียนพัฒนาผู้เรียนตามความรู้ความสามารถของตนเองต่อไป
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ส่งมาขอรับการตีพิมพ์ในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ จะต้องไม่เคยตีพิมพ์หรืออยู่ระหว่างการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่น รวมทั้งผู้เขียนจะต้องคำนึงถึงจริยธรรมการวิจัย ไม่ละเมิดหรือคัดลอกผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง ซึ่งทางวารสารฯ ได้กำหนดความซ้ำของผลงาน ด้วยโปรแกรม CopyCat เว็บ Thaijo ในระดับ ไม่เกิน 25%
ในกรณีที่ บทความวิจัยมีกระบวนการวิจัยเกี่ยวข้องกับมนุษย์ ผู้นิพนธ์จะต้องส่งหลักฐานการรับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์มาประกอบการลงตีพิมพ์ด้วยจึงจะได้รับการพิจารณาลงตีพิมพ์ในวารสาร
ผู้เขียนบทความจะต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ รวมทั้งระบบการอ้างอิงต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ โดยรวมทั้งทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้น และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์และวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์
References
ชูชีพ อ่อนโคกสูง และอนุสรณ์ อรรถศิริ. (2549). ความสัมพันธ์ระหว่างพลังความสามารถแห่งตนเป้าหมายและความเป็นไปได้ที่จะกระทำกับแรงจูงใจในการเรียน. รายงานวิจัย. มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ.
ประจักษ ศรสาลี. (2560). ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ PLC (Professional Learning Community). แหล่งที่มา http://www.banthepnakhornschool.com/news-detail_39_25160 สืบค้นเมื่อ 16 พ.ย. 2565.
ปราณี รามสูต. (2554). “ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการให้การปรึกษาแบบวิเคราะห์ลักษณะบุคคลและองค์ประกอบ” ใน ประมวลสาระชุดวิชาแนวคิดทางการแนะแนวและทฤษฎีการปรึกษาเชิงจิตวิทยา. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
พรพิมล พรพีระชนม์. (2550). การจัดกระบวนการเรียนรู้. สงขลา: เทมการพิมพ์สงขลา.
พรรณทิภาภรณ์ อภิปริญญา. (2562). สภาพและปัญหาของการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ของโรงเรียนในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 และเขต 2 กรุงเทพมหานคร. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา. 14(2). 1-10.
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. (2564). PLC คืออะไร? สำคัญอย่างไร?. แหล่งที่มา https://www.ubu.ac.th/web/files_up/43f2017010522270287.pdf สืบค้นเมื่อ 26 ก.ย. 2564.
โรงเรียนวัดเมตารางค์. (2564). (PLC) ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ หรือ Professional Learning Community. แหล่งที่มา https://watmetarang.thai.ac/client-upload/watmetarang/uploads/files/PLC.pdf สืบค้นเมื่อ 26 ก.ย. 2564.
วนิช บรรจง และคณะ. (2540). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: กรุงสยามการพิมพ์.
วรรณี ลิมอักษร. (2551). จิตวิทยาการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 4. สงขลา: นำศิลป์โฆษณา.
ศิริบูรณ์ สายโกสุม. (2542). จิตวิทยาการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยราคำแหง.
อารี พันธ์มณี. (2534). จิตวิทยาการเรียนการสอน. กรุงเทพมหานคร: เลิฟแอนด์ลิฟเพรส.
thaischool1.in.th. (2560). คู่มือประกอบการอบรมการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC (Professional Learning Community) “ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ” สู่สถานศึกษา. แหล่งที่มา http://www.thaischool1.in.th/_files_school/94010001/data/94010001_1_20210916-124154.pdf สืบค้นเมื่อ 28 ก.ย. 2564.