การบูรณาการภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ตามหลักปัญญา 3 สำหรับผู้บริหารสถานศึกษา

Main Article Content

กุสุมา ยี่ภู่

บทคัดย่อ

บทความนี้นำเสนอการบูรณาการภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ตามหลักปัญญา 3 สำหรับผู้บริหารสถานศึกษา เป็นการนำหลักภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ การนำผู้อื่นผ่านกระบวนการหรือวิธีการร่วมกันเพื่อไปสู่อนาคตใหม่ การริเริ่มสร้างสรรค์สิ่งใหม่อย่างท้าทายและสร้างสรรค์ โดยบูรณาการกับหลักปัญญา 3 อันเป็นหลักธรรมที่เหมาะสมในการบูรณาการกับภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาเพื่อให้เกิดปัญญาเป็นทั้งความรู้รอบ รู้ทั่ว รู้ทั่วถึงเหตุถึงผล รู้สิ่งที่ควรทำควรเว้น ประกอบด้วย 1) สุตมยปัญญา ปัญญาที่เกิดจากการรับข้อมูลข่าวสารและการศึกษาเล่าเรียน 2) จินตามยปัญญา ปัญญาที่เกิดจากการคิด 3) ภาวนามยปัญญา ปัญญาที่เกิดจากการฝึกหัดปฏิบัติ เพื่อให้ผู้บริหารที่ทำหน้าที่บริหารสถานศึกษา โดยการใช้ศาสตร์และศิลป์ของผู้บริหารสถานศึกษาบูรณาการกับหลักภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์และหลักปัญญา 3 อันจะทำให้การบริหารจัดการของสถานศึกษาบรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่วางไว้ประสบผลสำเร็จ

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กรมพลศึกษา. (2557). กิจกรรมนันทนาการเพื่อพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมของเด็ก. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์เอสออฟเซ็ทกราฟฟิคดีไซน์.

กรองทิพย์ นาควิเชตร. (2552). ภาวะผู้นำสร้างสรรค์เพื่อการศึกษา. สมุทรปราการ: ธีรสาส์นพับลิวเซอร์.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงศึกษาธิการ.

กิตติ์กาญจน์ ปฏิพันธ์. (2555). โมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาอาชีวศึกษา. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ฐิติขวัญ เหลี่ยมศิริวัฒนา. (2557). อัจฉริยะ 100 หน้าพระธรรมคำสอน. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์อมรินทร์.

พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช). (2551). พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุดคำวัด. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภาและสถาบันบันลือธรรม.

พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2553). ปัญญาต้องคู่กับกรุณาจึงจะพาชาติรอด. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระธานินทร์ ชินเมโธ (พุกเนียม). (2558). การใช้หลักปัญญา 3 ในการบริหารงานวิชาการของครู โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชบางขุนเทียน เขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2557). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระมหาญาณวัฒน์ ฐิตวฑฺฒโน และอชิรญา ภู่พงศกร. (2559). นโยบายการศึกษาตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 3(3). 30-46.

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

วิโรจน์ สารรัตนะ. (2555). ผู้บริหารโรงเรียน: สามมิติการพัฒนาวิชาชีพสู่ความเป็นผู้บริหารที่มีประสิทธิผล. ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา.

สมเด็จพระญาณสังวรสมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก. (2556). สัมมาทิฏฐิ. พิมพ์ครั้งที่ 5. เชียงใหม่: โรงพิมพ์นันทพันธ์.

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2559). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. พิมพ์ครั้งที่ 30. กรุงเทพมหานคร: ผลิธรรม.

สมศักดิ์ กิจธนวัฒน์. (2545). การพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์สำหรับผู้ประกอบธุรกิจขนาดย่อมโดยใช้หลักการจัดกิจกรรมตามแนวมนุษย์นิยมและการเพิ่มพลังศักยภาพตนเองของแอนโทนี่ ร๊อบบินส์. ดุษฎีนิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริการจัดการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: พริกหวานกราฟฟิค.

สุกฤษฎิ์ มายุศิริ. (2559). รูปแบบการบริหารงานวิชาการสู่ความเป็นเลิศตามหลักปัญญา 3 ของโรงเรียนขนาดเล็กสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. ดุษฎีนิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

สุเทพ พงศ์ศรีวัฒน์. (2548). ภาวะผู้นำ: ทฤษฎีและปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: วิรัตน์เอ็ดดูเคชั่น.

สุนันท์ เพ็ชรพิรุณ. (2548). การศึกษาวิเคราะห์แนวคิดเรื่องการพัฒนาปัญญาตามทรรศนะของพุทธทาสภิกขุ. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

Ash, R. C.; & Persall, J. M. (1999). The Principal as Chief Leaming Officer. National Association of Secondary School Principals. 84(616). 15-22.

Basadur, M. (2008). Leading Other to Think Innovatively Together: Creative Leadership. Journal of The Leadership Quarterly. 15(1). 103–21.

Dubrin, A. J. (2010). Principles of Leadership. n.p.: South-Western Cengage Learning.

Harris, A. (2009). Creative leadership. Journal of Management in Education. 23(1). 9-11.

Ibbotson, Piers & Darsø. (2008). Lotte. Directing creative: The art and craft of Creative Leadership. Journal of Management and Organization. 14. 548-559.

Isaksen, S., G. & Dorval, K. B. & Treffinger, D. J. (2011). Creative Approaches to Problem Solving: A Framework for Innovation and Change. New York: Sage.

Northouse, P. G. (2012). Introduction to leadership: concepts and practice. Los Angeles: Sage.

Puccio, G., Murdock, M., & Mance, M. (2011). Creative Leadership: Skills that drive change. Thousand Oaks: SAGE Pub.

Stoll & Temperley. (2009). Creative leadership teams. Journal of Management in Education. 23(1). 12-18.

Trevelyan, L. (2009). The direct relationship between inhibitory currents and local field potentials. Journal Neuroscience. 29(48). 15299-307.