การบริหารงานบุคคลของผู้บริหารตามหลักพุทธธรรม
Main Article Content
บทคัดย่อ
การบริหารงานบุคคลของผู้บริหารตามหลักพุทธธรรมเป็นการนำหลักการบริหารงานบุคคล 5 ประการ ประกอบด้วยการวางแผนอัตรากำลังและกำหนดตำแหน่ง การสรรหาและการบรรจุแต่งตั้ง การเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ วินัยและการรักษาวินัย และการออกจากราชการ โดยบูรณาการกับหลักสาราณียธรรมอันเป็นหลักธรรมที่เหมาะสมกับการประยุกต์ในการบริหารงานบุคคล เพราะเป็นหลักธรรมที่ตั้งแห่งความระลึกถึง เป็นหลักธรรมที่จะเสริมสร้างความรู้สึกที่ดีให้เกิดขึ้นแก่กันและกันอยู่เสมอในยามที่ระลึกถึงกันด้วยการแสดงความมีน้ำใจคือสงเคราะห์อนุเคราะห์ เมื่อมีความรักความเคารพต่อกัน ให้การสงเคราะห์อนุเคราะห์ต่อกันแล้วจะทำให้เกิดความสามัคคีบังเกิดขึ้นติดตามมา
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ส่งมาขอรับการตีพิมพ์ในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ จะต้องไม่เคยตีพิมพ์หรืออยู่ระหว่างการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่น รวมทั้งผู้เขียนจะต้องคำนึงถึงจริยธรรมการวิจัย ไม่ละเมิดหรือคัดลอกผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง ซึ่งทางวารสารฯ ได้กำหนดความซ้ำของผลงาน ด้วยโปรแกรม CopyCat เว็บ Thaijo ในระดับ ไม่เกิน 25%
ในกรณีที่ บทความวิจัยมีกระบวนการวิจัยเกี่ยวข้องกับมนุษย์ ผู้นิพนธ์จะต้องส่งหลักฐานการรับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์มาประกอบการลงตีพิมพ์ด้วยจึงจะได้รับการพิจารณาลงตีพิมพ์ในวารสาร
ผู้เขียนบทความจะต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ รวมทั้งระบบการอ้างอิงต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ โดยรวมทั้งทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้น และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์และวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์
References
กิติมา ปรีดีดิลก. (2532). การบริหารและการนิเทศการศึกษาเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์อักษรบัณฑิต.
ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์. (2545). การจัดการทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
ทองหล่อ วงษ์ธรรมา. (2538). ปรัชญา 201 พุทธศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: โอเอสพริ้นติ้งเฮ้าส์.
ธงชัย สันติวงษ์. (2542). การบริหารงานบุคคล. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช.
นาวาเอก นพดล บงกชกาญจน์. (2554). การปฏิบัติงานตามหลักสาราณียธรรมของบุคลากรศูนย์ซ่อมอากาศยานกองการบินทหารเรือ กองเรือยุทธการ. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
บรรยง โตจินดา. (2543). การบริหารงานบุคคล. กรุงเทพมหานคร: อมรการพิมพ์.
ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2539). การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพฯ.
พระครูโอภาสนนทกิตติ์ (ศักดา แสงทอง) และกมัยธร สัจจา. (2557). ภาวะผู้นำที่ดีเก่งในศตวรรษที่ 21 ในทัศนะพระพุทธศาสนา. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 1(2). 135-144.
พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต). (2545). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. กรุงเทพมหานคร: สหธรรมิก.
พระมหาเอกมร ฐิตปญฺโญ (คงตางาม). (2553). ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการบริหารงานตามหลักสาราณียธรรมขององค์การบริหารส่วนตำบล ในอำเภอดอนมดแดง จังหวัดอุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พิมลดา บุญธรรม. (2560). การประยุกต์หลักสาราณียธรรมกับการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระบุรี เขต 2. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2532). การบริหารบุคคลในโรงเรียน. กรุงเทพมหานคร: ขนิษฐาการพิมพ์.
วิไล ตั้งจิตสมคิด. (2539). การศึกษาไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
สมคิด บางโม. (2538). หลักการจัดการ. กรุงเทพมหานคร: นำอักษรการพิมพ์.
สุพล เครือมะโนรมณ์. (2542). การใช้หลักพุทธธรรมในการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดเทศบาลนครเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
Mondy, W.R. & Noe, R.M. (1990). Human Resource Management. Boston: Allyn & Bacon.