การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา
Main Article Content
บทคัดย่อ
การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา เป็นการใช้กระบวนการที่เป็นระบบในการพัฒนาคุณภาพของระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนให้เกิดประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น มี 4 ขั้นตอน ประกอบด้วย 1) การวางแผนทำความเข้าใจ ให้เกิดความตระหนักรู้ถึงความสำคัญ 2) การปฏิบัติตามระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 5 ด้าน ได้แก่ ด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล ด้านการคัดกรองนักเรียน ด้านการส่งเสริมนักเรียน ด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหา ด้านการส่งต่อ 3) การตรวจสอบ จัดนิเทศ ติดตาม และประเมินผล 4) การแก้ไขปรับปรุง ทบทวน กำหนดมาตรฐาน ซึ่งจะทำให้ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนเกิดประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่องส่งผลดีแก่นักเรียน ครูที่ปรึกษาและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องสามารถเข้าช่วยเหลือ แนะนำ และพัฒนานักเรียน ได้ทันเวลาและมีประสิทธิภาพ
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ส่งมาขอรับการตีพิมพ์ในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ จะต้องไม่เคยตีพิมพ์หรืออยู่ระหว่างการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่น รวมทั้งผู้เขียนจะต้องคำนึงถึงจริยธรรมการวิจัย ไม่ละเมิดหรือคัดลอกผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง ซึ่งทางวารสารฯ ได้กำหนดความซ้ำของผลงาน ด้วยโปรแกรม CopyCat เว็บ Thaijo ในระดับ ไม่เกิน 25%
ในกรณีที่ บทความวิจัยมีกระบวนการวิจัยเกี่ยวข้องกับมนุษย์ ผู้นิพนธ์จะต้องส่งหลักฐานการรับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์มาประกอบการลงตีพิมพ์ด้วยจึงจะได้รับการพิจารณาลงตีพิมพ์ในวารสาร
ผู้เขียนบทความจะต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ รวมทั้งระบบการอ้างอิงต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ โดยรวมทั้งทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้น และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์และวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์
References
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2555). การดูแลช่วยเหลือผู้ประสบปัญหา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. พิมพ์ครั้งที่ 3.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
ชนิกานต์ เธียรสูตร. (2551). PDCA. แหล่งที่มา https://www.gotoknow.org/ posts/453493 สืบค้นเมื่อ 10 ต.ค. 2565.
ธิตินัดดา สิงห์แก้ว. (2562). การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดยใช้วงจร PDCA: กรณีศึกษาโรงเรียนวัดป่าตึงห้วยยาบ อำเภอบ้านธิ จังหวัดลำพูน. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.
นันทนีย์ กมลศิริพิชัยพร. (2554). การพัฒนาที่ยั่งยืน. กรุงเทพมหานคร: เอกสารวารสารคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์สถาบันราชภัฏสวนดุสิต.
ปุณยวีร์ ชัยสวัสดิ์. (2555). การดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาระยอง เขต 1. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยบูรพา.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2550). เติมกำลังใจให้ครูสู่มืออาชีพ. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2552). แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2558). คู่มือบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ปีการศึกษา 2559. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2559). การศึกษาสภาพการจัดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
สำนักงานปราบปรามยาเสพติด. (2550). การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด.
องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (ยูนิเซฟ) ประเทศไทย. (2554). การวิเคราะห์สถานการณ์เด็กและสตรี พ.ศ. 2554. กรุงเทพมหานคร: องค์การยูนิเซฟ ประเทศไทย.