การบริหารแบบมีส่วนร่วมของสถานศึกษาในยุคดิจิทัล
Main Article Content
บทคัดย่อ
การบริหารแบบมีส่วนร่วมของสถานศึกษาในยุคดิจิทัล คือ กระบวนการบริหารที่ผู้บริหารสถานศึกษาต้องเตรียมความพร้อมสำหรับการเปลี่ยนแปลงให้เหมาะสมกับยุคสมัยเข้าสู่ยุคดิจิทัล โดยการสร้างความตระหนัก และความเข้าใจด้านเทคโนโลยีกับครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้เห็นถึงความสำคัญและประโยชน์ของการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ สร้างทีมงานในการเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง สร้างกระบวนการมีส่วนร่วม จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ ผู้บริหารต้องรู้จักเลือกวิธีการที่เหมาะสม กำหนดแบบแผน วิธีการและขั้นตอนต่างๆ ในการปฏิบัติงานอย่างมีระบบ คำนึงถึงโครงสร้างของหน่วยงาน และผู้เรียนเป็นหลัก เพื่อให้สถานศึกษาบรรลุจุดมุ่งหมายที่วางไว้เกิดประโยชน์ทางการศึกษาพัฒนาผู้เรียนให้มีประสิทธิภาพต่อไป
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ส่งมาขอรับการตีพิมพ์ในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ จะต้องไม่เคยตีพิมพ์หรืออยู่ระหว่างการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่น รวมทั้งผู้เขียนจะต้องคำนึงถึงจริยธรรมการวิจัย ไม่ละเมิดหรือคัดลอกผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง ซึ่งทางวารสารฯ ได้กำหนดความซ้ำของผลงาน ด้วยโปรแกรม CopyCat เว็บ Thaijo ในระดับ ไม่เกิน 25%
ในกรณีที่ บทความวิจัยมีกระบวนการวิจัยเกี่ยวข้องกับมนุษย์ ผู้นิพนธ์จะต้องส่งหลักฐานการรับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์มาประกอบการลงตีพิมพ์ด้วยจึงจะได้รับการพิจารณาลงตีพิมพ์ในวารสาร
ผู้เขียนบทความจะต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ รวมทั้งระบบการอ้างอิงต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ โดยรวมทั้งทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้น และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์และวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์
References
จันทรานี สงวนนาม. (2545). ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารสถานศึกษา. กรุงเทพมหานคร: บุ๊คพอยท์.
ชาญชัย อาจิณสมาจาร. (2550). การบริหารการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพมหานคร .
นพพงษ์ บุญจิตราดุลย์. (2546). หลักการบริหารการศึกษา. ฉะเชิงเทรา: สถาบันราชภัฏราชนครินทร์.
วินัย ดิสสงค์ และดวัลย์ มาศจรัส. (2550). การบริหารโรงเรียนแบบมีส่วนร่วม. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ธารอักษร.
วิโรจน์ สารรัตนะ. (2551). กระบวนทัศน์ใหม่ทางการศึกษากรณีทัศนะต่อการศึกษาศตวรรษที่ 21. กรุงเทพมหานคร: ทิพยวิสุทธิ์.
สงบ อินทรมณี. (2562). การบริหารสถานศึกษายุคดิจิทัล. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น. 16(1). 353-359.
สมยศ นาวีการ. (2545). การบริหารแบบมีส่วนร่วม. กรุงเทพมหานคร: บรรณกิจ
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2557). คู่มือการบริหารโรงเรียนในโครงการพัฒนาการบริหารรูปแบบนิติบุคคล. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
สุภัทรศักดิ์ คำสามารถ, ศิรินทิพย์กุลจิตรตรี และโกวิท จันทะปาละ. (2563). แนวทางการบริหารการศึกษาในยุคดิจิทัลดิสรัปชั่น. Journal of Modern Learning Development. 5(3). 245-258.
เอกชัย กี่สุขพันธ์. (2559). การบริหารสถานศึกษายุคดิจิทัล (School Management in Digital Era). แหล่งที่มา https://www.trueplookpanya.com/dhamma/content/52232 สืบค้นเมื่อ 30 มิ.ย. 2565.
เอกพล พงศ์สถาพร. (2561). เมื่อเทคโนโลยีมีมันสมอง. แหล่งที่มา http://www.wice.co.th/digital-4-0-technology สืบค้นเมื่อ 1 ส.ค. 2565.
Robbins, P. (1990). Organization theory: Structure design & application. New Jersey: Prentice–Hall.
Sukanya Chaemchoy. (2015). Technology Leadership: Leading Technology Into 21st Century School. Journal of Education Naresuan University. 17(4). 216-224.
Swianburg, R.C. (1996). Management and Leadership for Nurse Management. Boston: Jones and Bartlett.
Wiles, K. (1955). Supervision for Better School. New Jersey: Prentice-Hall.