การฝึกมารยาทไทยตามวัฒนธรรมไทย

Main Article Content

กัลยรัตน์ คำคูณเมือง
อินถา ศิริวรรณ
สุทธิพงษ์ ศรีวิชัย
จุฑามาศ วารีแสงทิพย์

บทคัดย่อ

การอยู่ร่วมกันในสังคม นอกจากบุคคลควรมีบุคลิกภาพที่เป็นจุดเริ่มต้นของการผูกมิตรไมตรีกับบุคคลผู้อื่นแล้ว ควรมีมารยาทที่งดงามจะช่วยทำให้มิตรไมตรีที่มีอยู่ยั่งยืนมากขึ้น สังคมไทยมีค่านิยมของการให้ความรู้สึกที่ดีระหว่างบุคคล มารยาทของสังคมไทยเกิดขึ้นจากการหล่อหลอมจากวัฒนธรรมของคนไทย และคำสอนของพระพุทธศาสนาซึ่งได้รับอบรมสั่งสอน และปฏิบัติติดต่อกันมาอย่างยาวนาน จึงกล่าวได้ว่าการฝึกมารยาทตามวัฒนธรรมไทย มีลักษณะความเป็นเอกลักษณ์ไทย หรือเป็นวัฒนธรรมประจำชาติไทย

Article Details

How to Cite
คำคูณเมือง ก., ศิริวรรณ อ., ศรีวิชัย ส., & วารีแสงทิพย์ จ. (2023). การฝึกมารยาทไทยตามวัฒนธรรมไทย. วารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์, 4(1), 17–26. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JOB_EHS/article/view/265763
บท
บทความวิชาการ

References

กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม. (2563). ศาสนพิธีและมารยาทไทย. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

พนิดา จันทรกานต์. (2560). การพัฒนาบุคลิกภาพ และสุขภาพจิต. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: มีนเธอร์วิสซัพพลาย.

พระมหาเจนภพ ปภาโส และสมเดช นามเกตุ. (2566). วัฒนธรรมไทย. วารสารมณีเชษฐาราม วัดจอมมณี. 5(2). 342-354.

สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม. (2559). มารยาทไทย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปถัมภ์.

โอสธี ราษฎร์เรื่อง. (2554). ศาสนพิธีกร: การสร้าง และพัฒนาคู่มือการประกอบกิจกรรมตามหลักพระพุทธศาสนา. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยสารคาม.