วัด : แหล่งการเรียนรู้ทางพระพุทธศาสนา

Main Article Content

วารี โศกเตี้ย
สมศักดิ์ บุญปู่
พีรวัฒน์ ชัยสุข

บทคัดย่อ

วัดเป็นแหล่งการเรียนรู้ทางพระพุทธศาสนาที่สำคัญอันหลากหลายพร้อมที่จะให้ผู้เรียนเข้าไปศึกษาค้นคว้าหาความรู้ได้ แหล่งขุมความรู้โดยเฉพาะเรื่องราวจากอดีตที่สำคัญยิ่ง แสดงให้เห็นถึงความเป็นชนชาติที่มีอารยธรรมอันเก่าแก่ยาวนานนอกจากจะให้ความสำคัญในเรื่องคุณค่าของงานศิลปะแล้ว ยังมีคุณค่าในด้านอื่นๆ อีกมาก การส่งเสริมวัดให้เป็นแหล่งการเรียนรู้อย่างยั่งยืนด้วยการปรับทัศนคติทั้งพระภิกษุสงฆ์ พุทธศาสนิกชนและสร้างศรัทธาให้แก่พุทธศาสนิกชนของพระภิกษุสงฆ์ภายในวัด พระภิกษุแสดงธรรมสั่งสอนให้รู้และเข้าใจธรรมะโดยถ่องแท้ คฤหัสถ์เข้าวัดเพื่อหาธรรมะ และศรัทธาในภิกษุผู้มีศีล มีธรรม ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ มีเคารพยำเกรงในพระศาสนา ในพระธรรม ในพระสงฆ์ก็จะทำให้วัดเป็นแหล่งการเรียนรู้

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กนกวรรณ ดุงศรีแก้ว. (2542). การพัฒนาวัดให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว. จุลสารการท่องเที่ยว. 18(4).

กรมการศาสนา. (2557). แนวทางการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการท่องเที่ยวเส้นทางแสวงบุญในมิติทางศาสนา ปี 2557. กรุงเทพมหานคร: กรมการศาสนา.

กรมสามัญศึกษา. (2544). การพัฒนาและการใช้แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนและท้องถิ่นเพื่อจัดกระบวนการเรียนรู้. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์การศาสนา.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงศึกษาธิการ.

เฉลิม พรกระแส. (2544). ร่วมปฏิรูปการเรียนรู้กับครูต้นแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญการสอนแบบการแสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้. กรุงเทพมหานคร: แคนดิตมีเดีย.

ชนะ สุ่มมาตย์. (2565). บ้าน วัด โรงเรียน:ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม วงจรการพัฒนาคนที่ยั่งยืน. แหล่งที่มา https://www.gotoknow.org/posts/131651 สืบค้นเมื่อ 9 ส.ค. 2565.

ธรรมรัตน์ แววศรี. (2565). ความสำคัญของวัดที่มีต่อวิถีชีวิตคนไทย. แหล่งที่มา http://thammarat5263.blogspot.com/ สืบค้นเมื่อ 9 ส.ค. 2565.

เนาวรัตน์ ลิขิตวัฒนเศรษฐ. (2544). แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนสร้างเพื่อเด็กมิได้สร้างเพื่อใคร. วารสารวิชาการ. 4(12). 26-37.

ประเวศ วะสี. (2543). สุขภาพในฐานะอุดมการณ์ของมนุษย์. พิมพ์ครั้งที่ 3. นนทบุรี: สำนักงานปฏิรูปสุขภาพสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.

พระครูวัฒนสุตานุกูล. (2557). กระบวนการพัฒนาวัดให้เป็นแหล่งการเรียนรู้ของคณะสงฆ์ไทย. ดุษฎีนิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช). (2546). บทบาทของสถาบันพระพุทธศาสนากับการจัดการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: พิมพ์ดี.

พระปลัดโฆษิต คงแทน. (2558). รูปแบบการจัดการศึกษาของวัดให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต. มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล.

พระวิสุทธิภัทรธาดา (ประสิทธิ์ พฺรหฺมรํสี). (2547). พระราชบัญญัติคณะสงฆ์และกฎมหาเถระ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

ภาสินี เปี่ยมพงศ์สานต์. (2548). สิ่งแวดล้อมศึกษา : แนวการสอนสาระการเรียนรู้และกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2554). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. กรุงเทพมหานคร: นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์.

ศิริกาญจน์ โกสุมภ์ และดารณี คำวัจนัง. (2545). แหล่งการเรียนรู้ : เพื่อการปฏิรูปการเรียนรู้และหลักสูตรสถานศึกษา. กรุงเทพมหานคร: เมธีทิปส์.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2545). แหล่งเรียนรู้ในสถานศึกษาและชุมชน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์การศาสนา.

สุจิตรา อ่อนค้อม. (2546). รูปแบบการจัดการศึกษาและการเผยแผ่ศาสนธรรมของวัดในพระพุทธศาสนา: กรณีศึกษาวัดสามชุก. กรุงเทพมหานคร: สำนักคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติสำนักนายกรัฐมนตรี.

สุมาลี สังข์ศรี และคณะ. (2548). การจัดการเรียนรู้ของแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต : พิพิธภัณฑ์. รายงานการวิจัย. กรุงเทพมหานคร: ภาพพิมพ์.

สุวิทย์ มูลคำ และอรทัย มูลคำ. (2544). การบูรณาการหลักสูตรการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. กรุงเทพมหานคร: ภาพพิมพ์.

อาทิตยา จารุจินดา. (2546). พฤติกรรมทางศาสนาของคนในสังคมเมือง : กรณีศึกษา วัดสนามนอก และวัดสนามใน ตำบลวัดชลอ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศิลปากร.