การบริหารจัดการท่องเที่ยววิถีธรรม

Main Article Content

มนัส พิพัฒนนันท์
บุญเชิด ชำนิศาสตร์
ยุทธวีร์ แก้วทองใหญ่

บทคัดย่อ

การบริหารจัดการท่องเที่ยวภายใต้วิถีธรรมเกิดขึ้นด้วยหวังว่าการท่องเที่ยวเชิงพุทธศาสนาจะได้รับความนิยม และทำให้ผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยวให้ความสำคัญกับการบริหารจัดการท่องเที่ยววิถีธรรม การบริหารจัดการท่องเที่ยววิถีธรรมมีกระบวนการการบริหารจัดการท่องเที่ยวที่สำคัญ คือ การวางแผนในองค์กร การบริหารจัดการในองค์กรให้เป็นไปตามแผนที่ได้กำหนดไว้ การวางคนให้เหมาะกับงาน การอำนวยความสะดวกให้งานเป็นไปตามที่วางแผนไว้และการตรวจสอบดูแลการปฏิบัติงานให้ประสบผลสำเร็จด้วยคำนึงถึงวิถีธรรม คือ หลักสัปปายะ ในสถานที่ที่มีความสงบ สะดวก สบาย มีแหล่งอาหาร แหล่งเรียนรู้ มีไกด์รวมถึงชุมชนที่เป็นกัลยาณมิตร สภาพแวดล้อม บรรยากาศดี เดินทางสะดวก ซึ่งจะช่วยให้การท่องเที่ยวได้รับการนิยม ผู้ประกอบการสามารถนำไปบูรณาการในการบริหารจัดการให้ผ่านพ้นวิกฤตการณ์หลังการระบาดของโรคโควิด 19 

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2563). รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 (ครั้งที่ 1). แหล่งที่มา: http://www.lamphun.go.th/uploads/ 18/2020-04/8668754ac69e539bc3f87e067cd2337a.pdf. สืบค้นเมื่อ 7 กันยายน 2564.

จริญญา เจริญสดใส และสุวัฒน์ จุธากรณ์. (2554). แนวคิดเกี่ยวกับการท่องเที่ยว. เอกสารประกอบการสอนชุดวิชาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอุตสาหกรรมท่องเที่ยว สาขาวิชาวิทยาการจัดการ. มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช: นนทบุรี.

พระครูสันติธรรมาภิรัต. (2557). ศาสนสถานแหล่งท่องเที่ยวในพระพุทธศาสนา, วารสารวิทยาลัยนครราชสีมา, 8(1). 89-96.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2554). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพ์พระพุทธศาสนาของธรรมสภา.

ภารดี อนันต์นาวี. (2552). หลักการ แนวคิด ทฤษฎีทางการบริหารการศึกษา. ชลบุรี: บริษัท สำนักพิมพ์มนตรี จำกัด.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

รพีพัฒน์ มัณฑนะรัตน์. (2563). สถานการณ์การท่องเที่ยวในวิกฤต COVID-19. แหล่งที่มา: https:// www.cea.or.th/th/single-research/cultural-heritage-tourism-industry-covid-19. สืบค้นเมื่อ 7 กันยายน 2564.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์ สมชาย หิรัญกิตติ และ สมศักดิ์ วานิชยาภรณ์. (2545). ทฤษฎีองค์การ. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสาร จำกัด.

สมบัติ กาญจนกิจ. (2554). นันทนาการและอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุรพล สุยะพรหม และคณะ. (2555). พื้นฐานทางการจัดการเชิงพุทธ. กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

อดิศร ศักดิ์สูง (2554). ประวัติศาสตร์เพื่อการท่องเที่ยวในประเทศไทย. เอกสารการสอนรายวิชาพระพุทธศาสนากับการศึกษา (Buddhism and Education ). คณะครุศาสตร์: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

Goeldner Charles and Ritchie J.R. Brent. (2006). Tourism: principles, practices, philosophies. 10th ed. Hoboken. N.J.: J. Wiley.