การวิเคราะห์องค์ประกอบของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา

Main Article Content

พระณัฐวุฒิ อคฺควฑฺฒโน (หนูเกื้อ)

บทคัดย่อ

บทความนี้นำเสนอผลการวิเคราะห์องค์ประกอบของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา เพื่อศึกษาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 อันเป็นผลที่เกิดขึ้นจากการเรียนการสอน การฝึกฝนหรือประสบการณ์ ทั้งในโรงเรียนที่บ้าน โดยกำหนดกรอบแนวคิดจากการศึกษาวิเคราะห์เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง พบว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ประกอบด้วย 1) คุณภาพการสอน 2) คุณลักษณะของเพื่อน 3) สิ่งแวดล้อมทางครอบครัว 4) คุณลักษณะของนักเรียน 5) ไตรสิกขา คือ สีล สมาธิ ปัญญา 6) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กฤษฎา ศรีพานิชย์. (2546). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา ภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาสังกัด สำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสกลนคร. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ก่องแก้ว เจริญอักษร. (2537). ความรู้เรื่องธรรมวิทยา. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กัลยาภรณ์ ศิริวรประสาท. (2555). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 (ช่วงชั้นที่ 2) โรงเรียนบ้านตลาด (คำนายครุราษฎร์รังสรรค์). วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

ดาว จันทร์หนองสรวง. (2557). โมเดลสมการโครงสร้างพหุระดับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

บุญมี แท่นแก้ว. (2539). จริยศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์.

เบญวลี ไชยแสน. (2544). ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถภาพพื้นฐานทางสมองบางประการแรงจูงใจใฝ่สมฤทธิ์ และเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดร้อยเอ็ด. วิทยานิพนธ์การศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ปัญจา ชูช่วย. (2551). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี.

พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต). (2546). พจนานุกรมพุทธศสตร์ ฉบับประมวลธรม. พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พิชาติ แก้วพวง. (2554). ผลของจัดการเรียนการสอนสังคมศึกษาตามหลักไตรสิกขาที่มีต่อผลสัมฤทธิทางการเรียน ความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการใช้ชีวิตแบบพอเพียง ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 2. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วศิน อินทสระ. (2528). ความหมายของไตรสิกขา. กรุงเทพมหานคร: มหามงกุฎราชวิทยาลัย.

วัชรี ภิญโญ. (2542). ปัจจัยบางประการที่สัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตคณิตศาสตร์ศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยนเรศวร.

วิกิพิเดีย สารานุกรมเสรี. (2563). โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ. แหล่งที่มา https://th.wikipedia.org/wiki/โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ สืบค้นเมื่อ 6 ก.ค. 2564.

วิกิพิเดีย สารานุกรมเสรี. (2564). ดัชนีการศึกษา. แหล่งที่มา https://th.wikipedia.org/wiki/ดัชนีการศึกษา สืบค้นเมื่อ 6 ก.ค. 2564.

วิษณุ ทรัพย์สมบัติ. (2562). ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2562 สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. แหล่งที่มา https://bet.obec.go.th/New2020/wp-content/uploads/2020/06/onet-p3m3m62562.pdf สืบค้นเมื่อ 6 ก.ค. 2564.

ศิวพร ประเสริฐสุข. (2550). การศึกษาปัจจัยที่สามารถจำแนกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดหนองคาย. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัญฑิต. มหาวิทยาลัยนเรศวร.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ. (2563). สภาวะการศึกษาไทย 2561/2562 การปฏิรูปการศึกษาในยุคดิจิทัล. กรุงเทพมหานคร: ภาพการพิมพ์.

สำเริง บุญเรืองรัตน์. (2540). เทคนิคการวิเคราะห์ตัวแปรพหุคูณ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: ต้นอ้อแกรมมี่.

อัจฉรา บุญสุข. (2553). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเพชรบูรณ์เขต 2. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์.

อารีย์ วชิรวราการ. (2542). การวัดและประเมินผลการเรียน. กรุงเทพมหานคร: สถาบันราชภัฏธนบุรี.

Anastasi, Anne. (1970). Individual Differences. 2nd ed. New York: John Wiley and Sons.

Bloom, B. S. (1976). Human Characteristics and School Learnin. New York: McGraw-Hill Book Co.Ltd.

Carroll, J. B. A. (1963). Model of School Learning. Teachers College Record. 64. 723-733.

Coleman, A. U., Barnhardt, S., Beard El-Dinary, P. & Robbins, J. (1966). The Learning Strategies Handbook: Longman. New York: Plenum Press.

Good, C. V. (1959). Dictionary of Education. 3rd ed. New York: McGraw-Hill Inc.

Good, Carter V. (1959). Dictionary of education. New York: McGraw-Hill.

Klausmeir, Ferbert J. (1961). Learning and Human Abilities: Educational Psychology. New York: Harper & Brothers.

Maddox, Harry. (1965). How to Study, The English Language Book Society. New York: Fewest Publication.

Mehrens, Willam A. and Irvin J. Lehmann. (1975). Measurement and Evaluation in Education and Psychology. 2nd ed. Sydney: Holt Rinehart and Winston.

Prescott, Daniel A. (1961). Report of Conference on Child Study. Educational Bulletin. Faculty of Education. Bangkok: Chulalongkorn University.

Walberg, J. H. (1990). Psychological Model of Educational Performance: A Theoretical Synthesis if Constructs. the Theoretical and Conceptual of Instructional Design. New York: Nichols Publishing Co.

Wiley, R. H. (1973). The strut display of male sage grouse: A fixed action pattern. Behavior. 47(1). 129-152.