การเรียนการสอนสำหรับนักเรียนในสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19

Main Article Content

ศุภวรรณ การุญญะวีร์

บทคัดย่อ

การเรียนการสอนสำหรับนักเรียนในสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 เป็นสถานการณ์การจัดการเรียนการสอนผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาให้แก่ผู้เรียนจำเป็นต้องนำไปปฏิบัติเพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสถานการณ์โดยเริ่มจากการกระชับหลักสูตร ปรับให้สอดคล้องกับสถานการณ์โควิด-19 และสื่อสารให้ผู้เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนทราบ เพิ่มความยืดหยุ่นของโครงสร้างเวลาเรียนและความหลากหลายของรูปแบบการเรียนรู้ ออกแบบหน่วยการเรียนรู้ และสอนอย่างมีแผนที่เหมาะสม ยกระดับการประเมินเพื่อการพัฒนา และประเมินจากโอกาสทางการเรียนของเด็กมากกว่าการวัดความรู้ด้วยคะแนนสอบตามสถานการณ์โรคระบาดที่ควรใช้รูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลาย

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2563). คู่มือการปฏิบัติสำหรับสถานศึกษาในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19. นนทบุรี: คิวแอดเวอร์ไทซิ่ง.

จำเนียร ศิลปะวานิช. (2538). หลักและวิธีสอน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์เจริญรุ่งเรืองการพิมพ์.

ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2542). การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพมหานคร: พิมพ์ดี.

ภูษิมา ภิญโญสินวัฒน์. (2563). จัดการเรียนการสอนอย่างไรในสถานการณ์โควิด-19: จากบทเรียนต่างประเทศสู่การจัดการเรียนรู้ของไทย. แหล่งที่มา https://tdri.or.th/2020/05/examples-of-teaching-and-learning-in-covid-19-pandemic/ สืบค้นเมื่อ 3 มี.ค. 2564.

ลัดดา ศิริพันธุ์. (2545). การศึกษาสภาพการจัดการเตรียมการสอนกลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช่วงชั้นที่ 4 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุราษฎร์ธานี. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยสุราษฎร์ธานี.

สุพิน บุญชูวงศ์. (2532). หลักการสอน. กรุงเทพมหานคร: แสวงสุทธิการพิมพ์.

สุมิตร คุณานุกร. (2528). หลักสูตรและการสอน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชวนพิมพ์.

สุราษฎร์ พรมจันทร์. (2550). ยุทธวิธีการเรียนการสอนวิชาเทคนิค ฉบับปรับปรุง. กรุงเทพมหานคร: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

อาภรณ์ ใจเที่ยง. (2553). หลักการสอน (ฉบับปรับปรุง). พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร: โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮาส์.