การบริหารความขัดแย้งเชิงพุทธในสถานศึกษา
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้นำเสนอการบริหารความขัดแย้งเชิงพุทธในสถานศึกษา เป็นการนำหลักอริยมรรคมีองค์ 8 มาบูรณาการกับการบริหารความขัดแย้ง 3 วิธี คือ 1) การประนีประนอม (Compromising) 2) การหลีกเลี่ยง (Avoiding) 3) การเอาชนะ (Competition) โดยผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้มีหน้าที่โดยตรงในการนำหลักการบริหารความขัดแย้งไปประยุกต์ใช้ในสถานศึกษาให้เหมาะสมกับระดับความขัดแย้ง หรือประเภทของความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในแต่ละสถานศึกษาและชุมชนได้ อันจะทำให้การบริหารสถานศึกษาดำเนินการไปด้วยความสุขและยั่งยืนในการแก้ไขการบริหารความขัดแย้งในสถานศึกษา
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ส่งมาขอรับการตีพิมพ์ในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ จะต้องไม่เคยตีพิมพ์หรืออยู่ระหว่างการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่น รวมทั้งผู้เขียนจะต้องคำนึงถึงจริยธรรมการวิจัย ไม่ละเมิดหรือคัดลอกผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง ซึ่งทางวารสารฯ ได้กำหนดความซ้ำของผลงาน ด้วยโปรแกรม CopyCat เว็บ Thaijo ในระดับ ไม่เกิน 25%
ในกรณีที่ บทความวิจัยมีกระบวนการวิจัยเกี่ยวข้องกับมนุษย์ ผู้นิพนธ์จะต้องส่งหลักฐานการรับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์มาประกอบการลงตีพิมพ์ด้วยจึงจะได้รับการพิจารณาลงตีพิมพ์ในวารสาร
ผู้เขียนบทความจะต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ รวมทั้งระบบการอ้างอิงต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ โดยรวมทั้งทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้น และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์และวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์
References
กิตติมา ปรีดีดิลก. (2529). ทฤษฎีบริหารองค์การ. กรุงเทพมหานคร: ธนะการพิมพ์.
จำนงค์ อดิวัฒนสิทธิ์. (2548). สังคมวิทยาตามแนวพุทธศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ประนัดดา สุทธิกุล. (2548). การบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาชัยภูมิ เขต 2. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.
พรนพ พุกกะพันธุ์. (2542). การบริหารความขัดแย้ง. กรุงเทพมหานคร: ว.เพ็ชรสกุล.
พระครูสุตพัฒโนดม (วรเมศร์ จารุวณฺโณ). (2561). การขจัดความขัดแย้งตามแนวโอวาทปาฏิโมกข์. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร. 6(1). 370-380.
พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต). (2546). สลายความขัดแย้ง นิติศาสตร์-รัฐศาสตร์-เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ. กรุงเทพมหานคร: สหธรรมิก.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2556). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 25. กรุงเทพมหานคร: ผลิธัมม์.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2556). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์. พิมพ์ครั้งที่ 21.กรุงเทพมหานคร: ผลิธัมม์.
พระมหาหรรษา ธมฺมหาโส (นิธิบุณยากร). (2553). การบูรณาการพุทธิปัญญาเพื่อพัฒนาชีวิตและสังคม. กรุงเทพมหานคร: ไทยรายวันการพิมพ์.
พระมหาหรรษา ธมฺมหาโส รศ.ดร.. (13 ธ.ค. 2556). สันติวิธีวิถีพุทธ: หยุดรุนแรงแต่งเติมรัก. คมชัดลึก. แหล่งที่มา http://www.komchadluek.net/mobile/detail/20131213/174801.html สืบค้นเมื่อ 30 ม.ค. 2562
พัชราภรณ์ เพ็งสกุล. (2551). สภาพการบริหารความขัดแย้งในโรงเรียนของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 1. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.
มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ฉบับจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
วิจิตร วรุตบางกูร. (2526). ศิลปะศาสตร์น่ารู้สำหรับผู้นำ. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.
สัมมา รธนิธย์. (2556). หลักทฤษฎีและปฏิบัติการบริหารการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: พิมพ์ดี.
สุปัน ราสุวรรณ์. (2540). ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารโรงเรียนกับความพึงพอใจของครู สังกัดสำนักงานประถมศึกษาจังหวัดร้อยเอ็ด. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์. (2534). ความขัดแย้งการบริหารเพื่อความสร้างสรรค์. กรุงเทพมหานคร: เลิฟแอนด์ลิฟเพรส.