การบริหารสุขภาวะองค์รวมตามแนวพุทธธรรม

Main Article Content

พระกันตพัฒน์ สุภทฺโท

บทคัดย่อ

บทความนี้เป็นการนำเสนอการบริหารสุขภาวะองค์รวมตามแนวพุทธเป็นการดำเนินกิจกรรมด้วยการนำหลักพุทธธรรมมาบูรณาการให้เกิดความสมบูรณ์แข็งแรงทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา จิตใจ และสังคม โดยสุขภาวะองค์รวมตามแนวพุทธศาสนามีความสำคัญต่อการดำเนินชีวิตของคนไทยในศตวรรษที่ 21 เพื่อให้คนไทยที่มีชีวิตที่เป็นสุข สงบ เย็น ปราศจากโรค ภัย และอันตรายที่จะเข้ามาเบียดเบียนทั้งทางด้านร่างกาย ด้านสังคม หรือสิ่งแวดล้อม ด้านจิตใจ และด้านปัญญา อันเป็นสุขภาพที่พึงประสงค์จึงมีลักษณะเป็นองค์รวมเป็นสุขสามารถสร้างภูมิคุ้มกันตนเองอย่างยั่งยืน

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กกกร ชลายแย้ม และอธิวัฒน์ เจี๋ยวิวรรธน์กุล. (2556). ความสุขมวลรวมของการทำงาน. แหล่งที่มา http://www.happyworkplace.com/Main/Frontpages/HWFM008_Article.php?Article=100&Hit=y. สืบค้นเมื่อ วันที่ 10 ต.ค. 2560.

ธงชัย สันติวงษ์. (2543). องค์การและการบริหาร. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช.

บุญทัน ดอกไธสง. (2537). การจัดองค์การ. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2548). สุขภาวะองค์รวมแนวพุทธ. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพมหานคร: สหธรรมิก.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2549). พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงและขยายความ. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพมหานคร: สหธรรมิก.

พระมหาโมคคัลลานะ (ผู้เขียน). (2547). คัมภีร์อภิธานวรรณนา. พระมหาสมปอง มุทิโต ผู้แปล. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: ประยูรวงศ์พริ้นติ้ง.

พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว. วชิรเมธี). (2550). คนสำราญงานสำเร็จ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พลับลิชชิ่ง.

ภารดี อนันต์นาวี. (2552). หลักการ แนวคิด ทฤษฎีทางการบริหารการศึกษา. ชลบุรี: สำนักพิมพ์มนตรี.

วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร, วรณัน วิทยาพิภพสกุล, วริศา พานิชเกรียงไกร, วลัยพร พัชรนฤมล, แอนน์มิลส์. (2561). การพัฒนาระบบสุขภาพในประเทศไทย: รากฐานสำคัญของการบรรลุหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า. แหล่งที่มา chrome-extension://efaidnbmnnnibpcajpcglclefindmkaj/viewer.html?pdfurl=https%3A%2F%2Fwww.thelancet.com%2Fpb-assets%2FLancet%2Fpdfs%2FS0140673618301983_Thai.pdf&clen=2408876&chunk=true สืบค้นเมื่อ 6 เม.ย. 2562.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์, สมชาย หิรัญกิตติ และสมศักดิ์ วานิชยาภรณ์. (2545). ทฤษฎีองค์การ. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสาร.

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.). (2561). โลกเปลี่ยน คนต้องปรับ อัพเกรดมนุษย์ที่สมบูรณ์ในศตวรรษที่ 21. แหล่งที่มา https://www.thaihealth.or.th/Content/40500โลกเปลี่ยน%20คนต้องปรับ%20อัพเกรดมนุษย์ที่สมบูรณ์ในศตวรรษที่%2021%20.html สืบค้นเมื่อ 6 เม.ย. 2562.

Brand Buffet. (2560). ผ่า ‘ภูฏานโมเดล’ ทฤษฎี GNH ขับเคลื่อนประเทศด้วย ‘ความสุข’ มวลรวมของคนในชาติ. แหล่งที่มา https://www.brandbuffet.in.th/2017/07/gnh-bhutan-model-sustainabilty/ สืบค้นเมื่อ 7 เม.ย. 2562.

Burton, J (2010). WHO Healthy Workplace Framework and Model: Background and Supporting literature and Practices. Submitted to Evelyn Kortum. WHO Headquarters, Geneva, Geneva, Switzerland February 2010.

Management2008’s Weblog. (2552). Change… เพื่อสร้างความสุขในองค์กร. แหล่งที่มา https://management2008.wordpress.com/2009/05/22/changeเพื่อสร้างความสุขในอง/ สืบค้นเมื่อ วันที่ 15 ต.ค. 2560.