ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงตามแนวพุทธของผู้บริหาร

Main Article Content

พระมหาปริญญา เตชปญฺโญ

บทคัดย่อ

บทความนี้นำเสนอหลักภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงตามแนวพุทธของผู้บริหารอันเป็นการบูรณาการหลักพุทธธรรม คือ หลักสังคหวัตถุ อันเป็นหลักธรรมที่ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดความรักใคร่กลมเกลียวสามัคคีเกิดขึ้นแก่บุคคลและชุมชนที่ 4 ประการ คือ 1) ทาน การให้ การเฉลี่ยเผื่อแผ่แก่กันและกัน 2) ปิยวาจา การเจรจาถ้อยคำซึ่งเป็นที่รักที่จับใจแก่กันและกัน 3) อัตถจริยา การประพฤติประโยชน์ต่อกันและกัน 4) สมานัตตตา ความเป็นผู้วางตนสม่ำเสมอ เพื่อนำมาบูรณาการภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาอันจะเป็นประโยชน์ต่อการบริหารสถานศึกษา 4 ประการ ได้แก่ 1) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์หรือการสร้างบารมี 2) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างแรงบันดาลใจ 3) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการกระตุ้นทางปัญญา 4) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

คณาจารย์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2551). การปกครองคณะสงฆ์ไทย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

ชนะ พงค์สุวรรณ. (2548). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงและการกระจายอำนาจการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานอำเภอปากท่อ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาราชบุรี เขต 1. สารนิพนธ์การศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาศรีนครินทรวิโรฒ.

บุญสิริ ชวลิตธำรง. (2529). ธรรมโอสถ. กรุงเทพมหานคร: อมรินทร์การพิมพ์.

พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2549). พุทธวิธีบริหาร. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2548). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 25. กรุงเทพมหานคร: ผลิธัมม์.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2551). ภาวะผู้นำ: ความสำคัญต่อการพัฒนาคน พัฒนาประเทศ. แหล่งที่มา http://www.dhammajak.net/board/viewtopic.php?t=1497-95k%3E สืบค้นเมื่อ 15 มี.ค. 2562.

พระวีรวัฒน์ รอดสุโข. (2550). เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการเรียนรู้วิชาพระพุทธศาสนา เรื่อง สังคหวัตถุ 4 พรหมวิหาร 4 ไตรลักษณ์ 3 กลุ่มสร้างเสริมลักษณะนิสัย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ระหว่างการสอนด้วยหนังสือการ์ตูนและการสอนตามปกติ. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

มนตรี พีรพลพิพัฒน์. (2540). จริยธรรมกับภาวะผู้นำ: ศึกษาทัศนะของนักวิชาการรัฐศาสตร์ในมหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทยที่มีต่อผู้นำทางการเมือง. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. ศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

วัลภา อิสระธานันธ์. (2545). ความสัมพันธ์ระหว่างผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยและการทำงานเป็นทีมกับคุณภาพบริการโรงพยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลกำแพงเพชร. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยบูรพา.

สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (พิมพ์ ธมฺมธโร). (2541). ธรรมะสร้างเยาวชน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.

สมมารถ สูรโรคา. (2553). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการบริหารการศึกษาองค์การบริหารส่วนตำบล. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ไสว มาลาทอง. (2552). คู่มือการดำเนินงานเสริมสร้างศีลธรรมสำหรับเด็กและเยาวชน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

Jay A. Conger, Rabindra N. Kanungo. (1998). Charismatic Leadership in Organizations. Thousand Oaks: Sage Publications.

Bass, Bernard M. (1985). Leadership and Performance Beyond Expectations. New York: The Free Press.

Bass, Bernard M. and Avolio, Bruce J. (1994). Improving Organizational Effectiveness Through Transformational Leadership. Thousand Oaks: Sage Publications.

Gary A. Yukl and Van David D. Feel. (1992). Theory and Research on Leadership in Organizations. Handbook of industrial and Organizational Psychology. 3. 173-187.

Gary Dessler. (1998). Management: Leading People and Organization in the 21st Century. New Jersey: Prentice-Hall international.

James M. Burns. (1978). Leadership. New York: Harper & Row.

Robert J. House. (1971). A Part Goal Theory of Leader Effectiveness. Administative Science. 3. 22-44. Quarterly 1.