ศึกษาสภาพการบริหารจัดการการศึกษาแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนา
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการบริหารจัดการการศึกษาแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนา โดยมีระเบียบวิธีการวิจัย คือ การใช้แบบสอบถามประชากรทั้งหมดที่เป็นผู้บริหารและครูโรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนาในภาคกลาง จำนวน 400 รูป/คน และทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน นำเสนอในรูปแบบตารางประกอบคำบรรยาย ผลการวิจัยพบว่า สภาพการบริหารจัดการการศึกษาแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนา ในภาพรวมและในรายด้านมีระดับการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก คือ การร่วมดำเนินการ การร่วมคิดตัดสินใจ การร่วมติดตามประเมินผล และการร่วมรับผลประโยชน์
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ส่งมาขอรับการตีพิมพ์ในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ จะต้องไม่เคยตีพิมพ์หรืออยู่ระหว่างการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่น รวมทั้งผู้เขียนจะต้องคำนึงถึงจริยธรรมการวิจัย ไม่ละเมิดหรือคัดลอกผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง ซึ่งทางวารสารฯ ได้กำหนดความซ้ำของผลงาน ด้วยโปรแกรม CopyCat เว็บ Thaijo ในระดับ ไม่เกิน 25%
ในกรณีที่ บทความวิจัยมีกระบวนการวิจัยเกี่ยวข้องกับมนุษย์ ผู้นิพนธ์จะต้องส่งหลักฐานการรับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์มาประกอบการลงตีพิมพ์ด้วยจึงจะได้รับการพิจารณาลงตีพิมพ์ในวารสาร
ผู้เขียนบทความจะต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ รวมทั้งระบบการอ้างอิงต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ โดยรวมทั้งทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้น และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์และวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภา.
ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2552). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพมหานคร: บิสซิเนสอาร์แอนด์ดี.
นุชา สระสม. (2560). การมีส่วนร่วมใน “การบริหารแบบบ้าน วัด โรงเรียน” ของโรงเรียนวัด สังกัดกรุงเทพมหานคร. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศิลปากร.
บุญชม ศรีสะอาด. (2558). วิจัยเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: สุวีริยาสาส์นการพิมพ์.
ประจวบ หนูเลี่ยง. (2559). การพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษา แบบมีส่วนร่วมของจังหวัดพัทลุง. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น.
ปารณทัตต์ แสนวิเศษ. (2555). การมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนประถมศึกษา: การสร้างทฤษฎีจากฐานราก. ดุษฎีนิพนธ์ศึกษาศาตรดุษฎีบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
ผ่องศิริ เรียงตระกูล. (2544). การมีส่วนร่วมของชุมชนในการดำเนินงานของโรงเรียนเอกชนการกุศลของวัดใน พระพุทธศาสนาลำปาง. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรบัณฑิต. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
พิณสุดา สิริธรังศรี. (2555). การจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วม: กรณีศึกษาโครงการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย. กรุงเทพมหานคร: ภาพพิมพ์.
ภัธรภร ปุยสุวรรณ. (2557). แนวทางการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการสถานศึกษาของสมาคมผู้ปกครองและครูที่เหมาะสมกับสังคมไทย. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ส. ศิวรักษ์. (2545). ปรัชญาการศึกษาศาสตร์และศิลป์แห่งการปฏิรูปการเรียนรู้. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: เรือนแก้วการพิมพ์.
สุวัฒน์ อินทรประไพ. (2557). การบริหารงานโรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนา โรงเรียนวัดซับบอนวิทยา จังหวัดเพชรบูรณ์. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. 3(2). 39-50.
Hoy, K. W. and G. C. Miskel. (1991). Al Administration: Theory. Research and Practice. 6th ed. New York: McGraw-Hill.