การบริหารตนเชิงพุทธ
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้จะเสนอการบริหารตนเชิงพุทธเป็นการที่ผู้บริหารสถานศึกษานำหลักการบริหารตนเองบูรณาการกับหลักฆราวาสธรรมอันเป็นหลักธรรมที่เหมาะสมในการบริหารตนและการบริหารสถานศึกษา ประกอบด้วยหลัก 4 ประการ คือ 1) สัจจะ ความซื่อสัตย์จริงใจต่อกัน 2) ทมะ การฝึกฝนตนเอง 3) ขันติ ความอดทนอดกลั้น 4) จาคะ ความเสียสละ เพื่อทำให้สถานศึกษามีความเจริญมั่นคงและเกิดความรักสามัคคีในผู้ร่วมงานอันจะส่งผลให้เกิดประสิทธิผลในการบริหารสถานศึกษามากขึ้น
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ส่งมาขอรับการตีพิมพ์ในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ จะต้องไม่เคยตีพิมพ์หรืออยู่ระหว่างการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่น รวมทั้งผู้เขียนจะต้องคำนึงถึงจริยธรรมการวิจัย ไม่ละเมิดหรือคัดลอกผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง ซึ่งทางวารสารฯ ได้กำหนดความซ้ำของผลงาน ด้วยโปรแกรม CopyCat เว็บ Thaijo ในระดับ ไม่เกิน 25%
ในกรณีที่ บทความวิจัยมีกระบวนการวิจัยเกี่ยวข้องกับมนุษย์ ผู้นิพนธ์จะต้องส่งหลักฐานการรับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์มาประกอบการลงตีพิมพ์ด้วยจึงจะได้รับการพิจารณาลงตีพิมพ์ในวารสาร
ผู้เขียนบทความจะต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ รวมทั้งระบบการอ้างอิงต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ โดยรวมทั้งทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้น และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์และวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). แบบรายงานการคัดเลือกข้าราชการพลเรือนดีเด่นประจำปี พ.ศ. 2560 (แบบ 1). แหล่งที่มา www2.diw.go.th/HRMC/Registration/แบบคัดเลือก60.doc สืบค้นเมื่อ 10 มิ.ย. 2562.
เกษม วัฒนชัย. (2550). ครองตน ครองคน ครองงาน. แหล่งที่มา http://www.cmp.ubu.ac.th/th/detail_article.php?article=00093&=4262da2a994b6d204615c769b9faf94c สืบค้นเมื่อ 10 มิ.ย. 2562.
นงลักษณ์ สุทธิวัฒนพันธ์. (2543). พิชิตความสำเร็จได้ด้วยตนเอง. นนทบุรี: สนุกอ่าน.
บุญชู แสงสุข. (2544). ทรรศนะของบุคลากรทางการศึกษาที่มีต่อการปฏิบัติจริงตามคุณธรรมและจริยธรรม. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. สถาบันราชภัฏเทพสตรี.
พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทฺธิ). (2546). มงคล 38 ประการ. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพมหานคร:
โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2546). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับบประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2549). รักนั้นดีแน่ แต่รักแท้ดีกว่า. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: สหธรรมิก.
พระศรีคัมภีรญาณ (สมจินต์ สมฺมาปญฺโญ/วันจันทร์). (2559). บูรณาการพุทธธรรมเพื่อเสริมสร้างพลังบริหาร. พิมพ์ครั้งที่ 2. พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พุทธทาสภิกขุ. (2530). หลักธรรมของผู้ครองเรือน. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ธรรมสภา.
มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ฉบับจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลกรณราชวิทยาลัย.
วรภาส ประสมสุข และนิพนธ์ กินาวงศ์. (2550). หลักการบริหารการศึกษาตามแนวพุทธธรรม. วารสารศึกษาศาสตร์. 18(2). 67.
ศุขภิญญา ศรีคำไทย. (2562). รูปแบบการบริหารการศึกษาตามหลักสัมมาสติ. ดุษฎีนิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
สมศักดิ์ บุญปู่. (2557). พลธรรม: พลังอำนาจเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษายุคใหม่. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 1(2). 1-12.
สมศักดิ์ บุญปู่. (2557). พุทธปรัชญากับการบริหารการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพมหานคร: จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์.
อนุสรณ์ ยกให้. (2549). การนำเสนอรูปแบบการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ดุษฎีนิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต. มหาวิทยาลัยนเรศวร.