การบูรณาการหลักพุทธธรรมกับภาวะผู้นำทางวิชาการ
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้ได้นำเสนอภาวะผู้นำทางวิชาการอันเป็นพฤติกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และการกำหนดข้อตกลงร่วมกันระหว่างครูและนักเรียนที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้ของนักเรียน การพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนและการสอนของครู รวมถึงมีความหลากหลายในรูปแบบการพัฒนาและประเมินผล โดยการบูรณาการหลักสัปปุริสธรรม 7 อันเป็นหลักธรรมที่ผู้บริหารสามารถนำไปแนวทางในการปฏิบัติงานเพื่อทำให้การทำงานร่วมกับผู้อื่นประสบความผลสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยให้เป็นผู้รู้เหตุผลรู้จักการวางตัวเหมาะสม รู้เท่าทันสังคมและการเปลี่ยนแปลงของสังคมได้เป็นอย่างดี
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ส่งมาขอรับการตีพิมพ์ในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ จะต้องไม่เคยตีพิมพ์หรืออยู่ระหว่างการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่น รวมทั้งผู้เขียนจะต้องคำนึงถึงจริยธรรมการวิจัย ไม่ละเมิดหรือคัดลอกผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง ซึ่งทางวารสารฯ ได้กำหนดความซ้ำของผลงาน ด้วยโปรแกรม CopyCat เว็บ Thaijo ในระดับ ไม่เกิน 25%
ในกรณีที่ บทความวิจัยมีกระบวนการวิจัยเกี่ยวข้องกับมนุษย์ ผู้นิพนธ์จะต้องส่งหลักฐานการรับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์มาประกอบการลงตีพิมพ์ด้วยจึงจะได้รับการพิจารณาลงตีพิมพ์ในวารสาร
ผู้เขียนบทความจะต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ รวมทั้งระบบการอ้างอิงต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ โดยรวมทั้งทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้น และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์และวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์
References
ไกศิษฎ์ เปลรินทร์. (2552). การพัฒนาตัวบ่งชี้ภาวะผู้นําทางวิชาการสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. ดุษฎีนิพนธ์ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ประยูร อาคม, (2548). ภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มเครือข่ายอำเภอสังคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาหนองคาย เขต 1. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช). (2548). ภาษาธรรม. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง.
พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต). (2539). ชีวิต งาน และสังคมที่สมบูรณ์. กรุงเทพมหานคร: ป.สัมพันธ์พาณิชย์.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2545). ภาวะผู้นำความสำคัญต่อการพัฒนาคนพัฒนาประเทศ. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภา.
มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ฉบับจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลกรณราชวิทยาลัย.
วรภาส ประสมสุข และนิพนธ์ กินาวงศ์. (2550). หลักการบริหารการศึกษาตามแนวพุทธธรรม. วารสารศึกษาศาสตร์. 18(2). 65.
สมคิด สร้อยน้ำ. (2547). การพัฒนาตัวแบบองค์การแห่งการเรียนรู้ในโรงเรียนมัธยมศึกษา. ดุษฎีนิพนธ์ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2544). ผู้บริหารสถานศึกษาต้นแบบ 2544. กรุงเทพมหานคร: สำนักนายกรัฐมนตรี.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพมหานคร: พริกหวานกราฟฟิค.
Blasé, J. & Blasé, J. (2001). Empowering Teachers: What Successful Principals Do. Thousand oaks, CA: Corwin.
Bossert, S.T. (1988). School effects. In N. J. Boyan (Ed.). Handbook of researchon educational administration. New York: Longman. 341-354.
Coleman, D. & Adam, R.C. (1997). Establising construct validity and reliability for the NAESP professional development Inventory. Journal of Personal. 10 (3). 194-200.
Kaiser, F. G., &Wilson, M. (2000). Assessing people’s general ecological behavior: A crossculturalmeasure. Journal of Applied Social Psychology. 30.33.
Krug, S.E. (1996). Instructional Leadership: A Constructivist Perspective. Educational Administration Quarterly. 28(3).430-443.
Lashway, L. (2002). Developing instructional leaders. (ERIC Digest No. 160). Eugene, OR: ERIC Clearinghouse on Educational Policy and Management. Retrieved August 6, 2015, from ERIC database. (ERIC No. ED466023)
MacNeill, C.N., Cavanagh, R.F., and Silcox, S. (2003). Pedagogic principal leadership. Management in Education. 17(4). 14-17.