ศึกษาสภาพการบริหารการจัดการของโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์

Main Article Content

พระสมุห์โกมิน จนฺทาโภ (อินทร์อยู่)
อินถา ศิริวรรณ
พระมหาสมบัติ ธนปญฺโญ

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการบริหารการจัดการของโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ โดยมีระเบียบวิธีการวิจัยด้วยการวิเคราะห์เอกสารและการใช้แบบสอบถามกลุ่มตัวอย่างที่เป็นครูสอนในโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ จำนวน 109 คน ด้วยการเปิดตารางของ Krejcie และ Morgan เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพื้นฐาน คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน นำเสนอในรูปแบบตารางประกอบคำบรรยาย ผลการวิจัยพบว่า สภาพการบริหารการจัดการของโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ ในภาพรวมมีระดับการปฏิบัติอยู่ในระดับมากและเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า มีระดับการปฏิบัติอยู่ในระดับมากทั้ง 7 ด้าน คือ หลักสูตร การบริหาร การวัดผลประเมินผล ครูสอน นักเรียน การเรียนการสอน และแหล่งเรียนรู้

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2544 (ฉบับปรับปรุง). พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.

ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2552). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพมหานคร: บิสซิเนสอาร์แอนด์ดี.

บุญชม ศรีสะอาด. (2558). วิจัยเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: สุวีริยาสาส์นการพิมพ์.

พระใบฎีกาสรชัย ชินวโร (ศักดิ์ ประเสริฐพร). (2559). ยุทธศาสตร์การบริหารศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์. ดุษฎีนิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระมหาบรรจง จนฺทคุตฺโต. (2550). คุณภาพการจัดการศึกษาแก่เด็กและเยาวชนตามหลักไตรสิกขา:กรณีศึกษา ศูนย์ศึกษาพุทธศาสนาวันอาทิตย์ วัดสวนดอก จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระมหาภาณุวัฒน์ ปฎิภาณเมธี. (2556). การบริหารจัดการศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ จังหวัดลำปาง. รายงานวิจัย. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระมหาสุชาติ ธมฺมกาโม. (2561). การพัฒนารูปแบบการบริหารแบบมีส่วนร่วมของศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ในเขตปกครองคณะสงฆ์ ภาค 13. ดุษฎีนิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

โรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์. (2550). อนุสรณ์ 50 ปี และพิธีมอบประกาศนียบัตร วุฒิบัตร เกียรติบัตรและทุนการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: สหธรรมิก.

โรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์. (2562). งานมอบประกาศนียบัตร วุฒิบัตร เกียรติบัตร และทุนการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

สมเด็จพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2561). การพัฒนาที่ยั่งยืน. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิโกมลคีมทอง.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ 2560-2579. กรุงเทพมหานคร: พริกหวานกราฟฟิก.

สำนักพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม. (2550). รูปแบบและกระบวนการบริหารจัดการที่ส่งผลต่อความสำเร็จของศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

อุไรรัตน์ ทองพินิจ. (2561). รูปแบบการส่งเสริมความสุขสำหรับนักเรียนในโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีนิพนธ์. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

Eun, S. (2002). Contextual Autonomy in EFL Classrooms: A Critical Review of English Teaching Methods in South Korea. Dissertation Abstracts International. 62(11).

Likert, Rensis. (1967). The Method of Constructing and Attitude Scale. in Reading in Attitude Theory and Measurement. Fishbeic Matin. New York: Wiley & Son.

Romine, Stephen. (1975). Student and Faculty Perceptions of an Effective University Instructional Climates. The Journal of Education Research. 68(6). 139-143.