กลยุทธ์การจัดการความรู้ทางพระพุทธศาสนากับการบริหารการศึกษา
Main Article Content
บทคัดย่อ
กลยุทธ์การจัดการความรู้ทางพระพุทธศาสนากับการบริหารการศึกษา เป็นการวางแผนและนโยบายในการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ด้วยการนำกลยุทธ์ที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของสถานศึกษาแต่ละแห่ง มีองค์ประกอบ 6 คือ 1) การกำหนดภาระหน้าที่ วิสัยทัศน์และเป้าหมาย 2) การวิเคราะห์ถึงโอกาสและอุปสรรคภายนอก 3) การวิเคราะห์ถึงจุดอ่อนหรือจุดแข็งภายใน 4) การวิเคราะห์ SWOT และการสร้างกลยุทธ์ 5) การปฏิบัติตามแผนกลยุทธ์ 6) การควบคุมกลยุทธ์ โดยการบูรณาการกับหลักาพระพุทธศาสนา คือ ไตรสิกขา กับการบริหารการศึกษา 6 ขั้นตอน ประกอบด้วย 1) การเตรียมการ 2)การดำเนินการจัดสภาพและองค์ประกอบ 3) การดำเนินการพัฒนาตามระบบไตรสิกขา 4) การดูแลสนับสนุนใกล้ชิด 5)การปรับปรุงและพัฒนาต่อเนื่อง 6) การประเมินผลและเผยแพร่ผลการดำเนินงาน
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ส่งมาขอรับการตีพิมพ์ในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ จะต้องไม่เคยตีพิมพ์หรืออยู่ระหว่างการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่น รวมทั้งผู้เขียนจะต้องคำนึงถึงจริยธรรมการวิจัย ไม่ละเมิดหรือคัดลอกผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง ซึ่งทางวารสารฯ ได้กำหนดความซ้ำของผลงาน ด้วยโปรแกรม CopyCat เว็บ Thaijo ในระดับ ไม่เกิน 25%
ในกรณีที่ บทความวิจัยมีกระบวนการวิจัยเกี่ยวข้องกับมนุษย์ ผู้นิพนธ์จะต้องส่งหลักฐานการรับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์มาประกอบการลงตีพิมพ์ด้วยจึงจะได้รับการพิจารณาลงตีพิมพ์ในวารสาร
ผู้เขียนบทความจะต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ รวมทั้งระบบการอ้างอิงต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ โดยรวมทั้งทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้น และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์และวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์
References
กนกพร ทองเจือ. (2538). การปฏิบัติงานของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษา จ.นครราชสีมา. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.
ชำนาญ ท้วมพงษ์. (2550). ปัญหาการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนในกิ่งอำเภอนิคมพัฒนา สังกัดสำนักงานพื้นที่การศึกษาจังหวัดระยองเขต 1. รายงานการวิจัย. มหาวิทยาลัยบูรพา.
ทศพร ศิริสัมพันธ์. (2543). การบริหารผลการดำเนินงาน. รวมบทความวิชาการ 100 ปีรัฐประศาสน์ศาสตร์ไทย. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธงชัย สันติวงษ์. (2556). พฤติกรรมบุคคลในองค์การบริษัท. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพาณิช.
ปราณี จันทราราชัย. (2556). รายงานการบริหารงานกิจการนักเรียนแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนอุดมดรุณี สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 38. สุโขทัย: โรงเรียนอุดมดรุณี.
พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตโต). (2548). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลธรรม. กรุงเทพมหานคร:
โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ฉบับจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลกรณราชวิทยาลัย.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. (2541). การบริหารการตลาดยุคใหม่. กรุงเทพมหานคร: ธีระฟิล์มและไซเท็กซ์.
สมคิด จาตุศรีพิทักษ์. (2547). บทความประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาผู้นำการบริหารการเปลี่ยนแปลง. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ.
สมชาย ภคภาสน์วิวัฒน์. (2544). การบริหารเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพมหานคร: มติชน.
สมชาย สุขชาตะ. (2524). การใช้เวลาในการบริหารของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา ในเขตการศึกษา 11. ใน ครุศาสตร์ 24 ปี รวมบทความทางวิชาการและบทสรุปผลงานวิจัย. กรุงเทพมหานคร: คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุรพันธ์ ยันต์ทอง.(2533). การบริหารโรงเรียน: นวัตกรรม เทคนิค ประสบการณ์. กรุงเทพมหานคร: หน่วยศึกษานิเทศก์ กรมการฝึกหัดครู.
เสนาะ ติเยาว์. (2546). การบริหารกลยุทธ์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์หาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
หวน พินธุพันธ์. (2529). การบริหารโรงเรียนด้านความสัมพันธ์กับชุมชน. กรุงเทพมหานคร: อักษรบัณฑิต.