วิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศ
Main Article Content
บทคัดย่อ
วิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศในการบริหารองค์กรที่ดีมีพลังและสร้างแรงบันดาลใจให้คนในองค์กรสร้างการมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนวิสัยทัศน์ให้ทันสภาพการณ์การเปลี่ยนแปลง ถอดรหัสความคิดจากนามธรรมให้เป็นรูปธรรม สามารถวัดผลได้ตรงตามเป้าหมาย หรือวัตถุประสงค์ วิสัยทัศน์ควรจะมีลักษณะเป็นสิ่งที่สามารถปฏิบัติได้ ที่เป็นตัวกำหนดทิศทางชัดเจนให้ผู้บริหารสถานศึกษาสามารถบริหารองค์กรตามวิสัยทัศน์ได้ แต่จะให้การบริหารโรงเรียนประสบผลสำเร็จและสู่ความเป็นเลิศที่ได้ดังที่ได้ตั้งเป้าหมายไว้นั้นจำเป็นจะต้องอาศัยทักษะในการบริหารอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คือ ทีมงานที่มีศักยภาพใช้เครื่องมือด้านเทคโนโลยีช่วยส่งเสริมให้ผู้บริหารสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศได้อย่างมืออาชีพ
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ส่งมาขอรับการตีพิมพ์ในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ จะต้องไม่เคยตีพิมพ์หรืออยู่ระหว่างการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่น รวมทั้งผู้เขียนจะต้องคำนึงถึงจริยธรรมการวิจัย ไม่ละเมิดหรือคัดลอกผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง ซึ่งทางวารสารฯ ได้กำหนดความซ้ำของผลงาน ด้วยโปรแกรม CopyCat เว็บ Thaijo ในระดับ ไม่เกิน 25%
ในกรณีที่ บทความวิจัยมีกระบวนการวิจัยเกี่ยวข้องกับมนุษย์ ผู้นิพนธ์จะต้องส่งหลักฐานการรับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์มาประกอบการลงตีพิมพ์ด้วยจึงจะได้รับการพิจารณาลงตีพิมพ์ในวารสาร
ผู้เขียนบทความจะต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ รวมทั้งระบบการอ้างอิงต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ โดยรวมทั้งทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้น และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์และวารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2542). กระทรวงศึกษาธิการกับการขับเคลื่อนปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.
ชลาลัย นิมิบุตร. (2553). วิสัยทัศน์กับผู้บริหาร. แหล่งที่มา https://kosut158.blogspot.com/2010/02/blog-post.html สืบค้นเมื่อ 9 ก.ย. 2564.
ทิพวรรณ ล้วนปสิทธิ์สกุล. (2562). คุณลักษณะผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่สอดคล้องกับเป้าหมายการศึกษาของนโยบายไทยแลนด์ 4.0. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ยงยุทธ สิมสีพิมพ์. (2555). วิสัยทัศน์ความเป็นผู้นำของผู้บริหารยุคใหม่. แหล่งที่มา https://www.kroobannok.com/51271 สืบค้นเมื่อ 6 ต.ค. 2564.
รุ่ง แก้วแดง. (2539). รีเอ็นจิเนียริ่งระบบราชการไทย ภาค 2. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มติชน.
สมศักดิ์ ดลประสิทธิ์. (2540). วิสัยทัศน์ (VISION): พลังแห่งความสำเร็จ. การศึกษาเอกชน. 7(70). 13-14.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559). สรุปสาระสำคัญแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง พ.ศ. 2560-2564. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2551). แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2545-2559) : ฉบับปรับปรุง. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพมหานคร: พริกหวานกราฟฟิค.
เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์. (2538). วิสัยทัศน์ของผู้บริหารการศึกษา ในประมวลสาระชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพมหาบัณฑิตบริหารการศึกษา เล่มที่ 1.หน่วยที่ 1. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
Locke, E. A., et al. (1991). The Essence of Leadership: The Four Keys to Leading Successfully. New York: Lexington Books.
Sashkin, M. (1988). The visionary principal: School leadership for the next century. Education and Urban Society. 20(3). 239-249.