การบริหารงานวิชาการตามหลักอิทธิบาท 4 ในวิกฤติการณ์โควิด 19

Main Article Content

พัฒน์พรชัย เมฆวิลัย

บทคัดย่อ

บทความนี้จะได้เสนอการบริหารงานวิชาการโดยบูรณาการกับหลักอิทธิบาท 4 ในสถานการณ์ปัจจุบันที่อยู่ในการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 อันเป็นแนวทางให้ผู้บริหารได้นำไปประยุกต์ใช้ในการบริหารงานวิชาการ โดยการสร้างให้ผู้บริหารและครูเกิดความพอใจในการทำงานวิชาการ มีความเพียรพยายามในการทำงานอย่างต่อเนื่อง พิจารณางานด้วยปัญญา และไตร่ตรองงานวิชาการอย่างรอบคอบ เพื่อแก้ไขปัญหาในวิกฤติการณ์การจัดการเรียนการสอนตามสถานการณ์ให้ดีขึ้นได้ ซึ่งมีวิธีการสอนที่เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบันประกอบด้วยการสอนออนไลน์ผ่านสื่อเทคโนโลยีที่หลากหลาย การสอนผ่านคลิปวีดีโอ การสอนแบบง่ายสลับยาก การสอนออนไลน์โดยใช้สื่อประสม และการสอนออนไลน์กึ่งออฟไลน์

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กมล ภู่ประเสริฐ. (2547). การบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: เสริมสินพรีเพรสซิสเท็ม.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). การบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็นนิติบุคคล. กรุงเทพมหานคร: องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2556). คู่มือการบริหารสถานศึกษาที่เป็นนิติบุคคล. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงศึกษาธิการ.

โชษิตา ศิริมั่น. (2564). ทักษะการบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารในภาวะวิกฤตโควิด-19 ของสถานศึกษา ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 31. การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาลัยนครราชสีมา ครั้งที่ 8 ประจำปี พ.ศ. 2564. วิทยาลัยนครราชสีมา

ธีระ รุญเจริญ. (2546). การบริหารโรงเรียนยุคปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แอลทีเพรส.

ประชาชาติธุรกิจ. (2564). สมศ.ถอดบทเรียนผลประเมิน ร.ร. พบ 5 วิธีการสอนที่เหมาะกับยุคโควิด. แหล่งที่มา https://www.prachachat.net/education/news-679542 สืบค้นเมื่อ 27 ส.ค. 2564.

ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2546). การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.

พระธรรมปิฎก (ป .อ. ปยุตฺโต), 2543). ธรรมะกับการทำงาน. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: พุทธธรรม.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2545). ธรรมนูญชีวิต. พิมพ์ครั้งที่ 46. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์กรมศาสนา.

พุทธทาสภิกขุ. (2549). การงานที่เป็นสุข. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ธรรมสภา.

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

รุ่ง แก้วแดง. (2541). ปฏิวัติการศึกษาไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: มติชน.

รุจิร์ ภู่สาระ และจันทรานี สงวนนาม. (2545). การบริหารหลักสูตรในสถานศึกษา. กรุงเทพมหานคร: บุ๊คพอยท์.

วัฒนาพร ระงับทุกข์. (2545). การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพมหานคร: พริกหวานกราฟฟิค.

วินิจ เกตุขำ. (2542). มนุษยสัมพันธ์สำหรับผู้บริหารยุคใหม่. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์.

สนอง วรอุไร. (2550). ทำชีวิตให้ได้ดีและมีสุข. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์อัมรินทร์.

อุทัย บุญประเสริฐ. (2538). การวางแผนการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Apichart Thongyou. (2563). นิวนอร์มอล กับ 4 ประเด็นสำคัญน่าคิด…ที่จะทำให้ ‘การศึกษา’ พ้นความตกต่ำ ล้าหลัง และความสูญเปล่าไม่รู้จบ!!!. แหล่งที่มา https://www.salika.co/2020/05/17/new-normal-impact-education-must-be-changed/ สืบค้นเมื่อ 17 ตุ.ค. 2564.

Van Miller. (1965). The Public Administration of American School. New York: Macmillan Publishing Company.