การบริหารงานบุคคลในยุคดิจิทัล 5.0 เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการทำงานในองค์การ

Main Article Content

ธนกฤต โทนทอง
ทศพร มะหะหมัด

บทคัดย่อ

     บทความวิชาการ เรื่องนี้เพื่อเป็นการนำเสนอการบริหารจัดการงานบุคคลในยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงที่มีระบบเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการบริหารจัดการบุคคลากรในองค์การ การบริหารงานบุคคลที่เป็นกระบวนการต่างๆ ตั้งแต่กำหนดนโยบายการบริหารงานบุคลากรการวางแผนกำลังคนสรรหาและเลือกสรรการธำรงรักษาบุคลากรพัฒนาให้ทรัพยากรมนุษย์ ก้าวหน้าทันสมัยอยู่เสมอการควบคุม การประเมินผล การปฏิบัติงาน โดยการบริหารงานบุคคลในยุคดิจิทัล การก้าวเข้าสู่ยุคแพลตฟอร์มดิจิทัลการใช้คำว่าหุ้นส่วนแทนว่าลูกจ้าง องค์กรที่เปลี่ยนแปลงไปการกำหนดประสิทธิภาพการทำงานด้วยดิจิทัลโดยมนุษย์เข้าสู่โลกแห่งเทคโนโลยีการบริหารทรัพยากรบุคคลสมัยใหม่แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากเทคโนโลยีดิจิทัลในยุค 5.0 ซึ่งเป็นยุคสังคมอัจฉริยะที่โลกไซเบอร์และโลกแห่งความเป็นจริงผสานกับสารสนเทศ เครือข่าย และตรรกะเชิงวิทยาศาสตร์ร่วมกับเชิงสังคมศาสตร์แบบไรรอยต่อ เพราะระบบการทำงานด้วยการใช้ทักษะแบบเดิมๆ นั้นอาจจะไม่เป็นที่พึ่งประสงค์อีกต่อไปการประยุกต์เทคโนโลยีในงานบริหารบุคคลทักษะการทำงานที่หลากหลายวัฒนธรรมเห็นอกเห็นใจกันการสร้างประสบการณ์ทำงานที่สอดรับกับไลฟ์สไตล์และการทำงานที่ยืดหยุ่นตามบุคคลเพื่อประโยชน์ต่อประสิทธิภาพของงานและประโยชน์ต่อองค์กรระยะยาว


1หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต กรุงเทพมหานคร
2อาจารย์ประจำหลักสูตร วิทยาลัยผู้ประกอบการสร้างสรรค์นานาชาติรัตนโกสินทร์, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์, นครปฐม
*Corresponding author: tosaporn.mah@rmutr.ac.th

Article Details

How to Cite
โทนทอง ธ. ., & มะหะหมัด ท. (2024). การบริหารงานบุคคลในยุคดิจิทัล 5.0 เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการทำงานในองค์การ. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม, 11(2), 138–149. https://doi.org/10.14456/jmsnpru.2024.33
บท
บทความวิจัย

References

ธวัชชัย สมอเนื้อ. (2565). การจัดการทรัพยากรมนุษย์ในการทำงานที่มีผลต่อพฤติกรรมในการ ปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรในองค์กร. มจร.เลยปริทัศน์, 3 (1), 178-187.

ประภาพรรณ กัณทวงษ์ และนิศารัตน์ โชติเชย. (2565). การจัดการทรัพยากรมนุษย์ในการก้าวสู่ยุค Digital HR. วารสารวิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย, 12(1), 106-114.

อิงอร ตันพันธ์, เอกสิทธิ์ สนามทอง, และ ทศพร มะหะหมัด.(2566).การสังเคราะห์นวัตกรรมงานการจัดการทรัพยากรมนุษย์ผลกระทบต่อยุคดิจิทัลในประเทศไทย.วารสารการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.15 (3), 198–205.

Amalia, M. R. (2024). The Impact of Digital Era 4.0 Transformation on Human Resources Management. Management Studies and Business Journal, 1(1), 89-98.

Deep Dave (2023) Industry 5.0 or Industry 4.0S? [Online]. Retrieved June 13, 2023 from: https://www.linkedin.com/pulse/industry-50-40s-deep-m-dave

Dickens, L. (1998). What HRM means for gender equality. Human Resource Management Journal, 8(1), 23.

Garg, V., and Goel, R. (Eds.). (2021). Handbook of Research on Innovative Management Using AI in Industry 5.0. Pennsylvania, IGI Global.

Jiang, S. Li, Y. Lu, Q and Hong, Y. (2021). Policy assessments for the carbon emission flows and sustainability of Bitcoin blockchain operation in China. Nature Communications, 12(1).1-10.

Kandula, S. R. (2013). Competency-based human resource management. New Delhi: PHI Learning Pvt. Ltd..

Khaled, G., and Alena, F. (2021). Industry 4.0 and human resource management in the hotel business. Human Progress, 7 (2), 1.

Khan, S., Thirunavukkarasu, K., AlDmour, A., and Shreem, S. S. (Eds.). (2021). A Step towards Society 5.0: Research, innovations, and developments in Cloud-based computing technologies. Florida, CRCPress.

Kotler, P., Kartajaya, H., and Setiawan, I. (2021). Marketing 5.0: Technology for humanity. New York: John Wiley and Sons.

Lambiotte, R., and Kosinski, M. (2014). Tracking the digital footprints of personality. Proceedings of the IEEE, 102 (12), 1934-1939.

Mitchell, B., and Gamlem, C. (2017). The big book of HR. Massachusetts: Red Wheel/Weiser.

Mourtzis, D., Angelopoulos, J., and Panopoulos, N. (2022). A Literature Review of the Challenges and Opportunities of the Transition from Industry 4.0 to Society 5.0. Energies, 15 (17), 6276.

Mubarik, M. S., Shahbaz, M., and Abbas, Q. (2022). Human capital, innovation and disruptive digital technology: A multidimensional perspective. London: Taylor and Francis.

Paauwe, J. (2004). HRM and performance: Achieving long-term viability. Oxford Press, USA.

Paauwe, J., and Farndale, E. (2017). Strategy, HRM, and performance: A contextual approach. Oxford: Press.

Pilevari, N. (2020). Industry revolutions development from Industry 1.0 to Industry 5.0 in manufacturing. Journal of Industrial Strategic Management, 5 (2), 44.

Thite, M. (Ed.). (2018). e-HRM: Digital approaches, directions and applications. London Routledge.