ห้องสะอาด : ความหมายและความสำคัญต่ออุตสาหกรรมยา โรงพยาบาล และ อิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจของลูกค้าในบริการทดสอบห้องสะอาด

Main Article Content

ทัดตะวัน ประกอบไวทยกิจ

บทคัดย่อ

     บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อบ่งบอกถึง ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของลูกค้าในการใช้บริการทดสอบห้องสะอาด ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมยา โรงพยาบาล และ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย การตัดสินใจของลูกค้าในการใช้บริการ ได้แก่ การควบคุมคุณภาพของสินค้า การปนเปื้อน ความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติการ การลดความสูญเสียต่อชิ้นส่วนของผลิตภัณฑ์ เป็นต้น ซึ่งห้องสะอาดเป็นพื้นที่ที่ต้องมีการควบคุมปริมาณฝุ่นละออง อุณหภูมิ ความชื้น ความดัน และ การหมุนเวียนของอากาศภายในห้อง ซึ่งการควบคุมนี้ได้มีการจัดทำมาตรฐานสากล และ ออกใบรับรองมาตรฐานผ่านทางผู้เชี่ยวชาญ ที่ได้รับการรับรองจาก NEBB (National Environmental Balancing Bureau) และยังพบว่า คุณภาพการให้บริการ 5 มิติ ได้แก่ ความเป็นรูปธรรมของบริการ ความเชื่อถือไว้วางใจได้ การตอบสนองต่อผู้รับบริการ การให้ความเชื่อมั่นต่อผู้รับบริการ และ การรู้จักและเข้าใจผู้รับบริการ การรับรู้ต่อคุณภาพการให้บริการ เป็นแนวทางในการศึกษาวิจัยปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการซื้อของลูกค้านั้นจะถูกพิจารณาผ่านทางปัจจัยต่าง ๆ เช่น ภาพลักษณ์ของแบรนด์ ราคา ความพึงพอใจ และ ความภักดีที่ลูกค้ามีต่อแบรนด์


1*นักศึกษา หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ

Article Details

How to Cite
ประกอบไวทยกิจ ท. (2024). ห้องสะอาด : ความหมายและความสำคัญต่ออุตสาหกรรมยา โรงพยาบาล และ อิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจของลูกค้าในบริการทดสอบห้องสะอาด. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม, 11(1), 55–63. https://doi.org/10.14456/jmsnpru.2024.5
บท
บทความวิจัย

References

เกศินี พรมธิ. (2555). การวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงการใช้พลังงานของห้องสะอาดด้วยวิธีการเชิงสถิติ กรณีศึกษา

อุตสาหกรรมผลิต วอยซ์ คอยล์ มอเตอร์. Journal of Energy Research, 9(3), 24-35.

ฉัตรชัย ศรีบัณฑิต. (2566). สเต็มเซลล์ (Stem Cell) คืออะไร?. งานห้องปฏิบัติการพยาธิวิทยา ศูนย์

การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตนราชกุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 31 มีนาคม 2566, จากhttp://med.swu.ac.th/msmc/pathologymsmc/index.php/news-menu/154-stemcell

ชลธิชา ศรีบำรุง. (2557). คุณภาพการให้บริการของธนาคารกรุงเทพ สาขาดอนหัวฬ่อ จังหวัดชลบุรี. งานนิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน มหาวิทยาลัยบูรพา.

ไชยพศ รื่นมล. (2558). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความจงรักภักดีของผู้ใช้บริการธุรกิจคาร์แคร์ ในกรุงเทพมหานคร.

วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

นรินทร์ ตันไพบูลย์. (2564). แนวโน้มธุรกิจ/อุตสาหกรรม ปี 2564-2566: อุตสาหกรรมยา. [ออนไลน์]. ค้น

เมื่อ 31 มีนาคม 2566, จาก https://www.krungsri.com/th/research/industry/industry-

outlook/Chemicals/phamaceuticals/IO/io-pharmaceuticals-21

นัทธีรา พุมมาพันธุ์. (2562). ผลกระทบการรับรู้คุณภาพของลูกค้าต่อความภักดีของลูกค้าโรงแรม 4 และ 5

ดาว. วารสารร่มพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกริก, 36(3), 204-224.

พูลสุข นิลกิจศรานนท์. (2563). แนวโน้มธุรกิจ/อุตสาหกรรม ปี 2563-65: ธุรกิจโรงพยาบาลเอกชน.

[ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 31 มีนาคม 2566, จากhttps://www.krungsri.com/th/research/

industry/industry-outlook/Services/Private-Hospitals/IO/io-Private-Hospitals

รุ่งทิพย์ นิลพัท. (2561). คุณภาพการให้บริการและความพึงพอใจที่มีความสัมพันธ์กับการกลับมาใช้บริการ

ซ้ำของผู้รับบริการโรงพยาบาล เปาโลรังสิต. การค้นคว้าอิสระ ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต

วิชาเอกการจัดการทั่วไป คณะบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

วรรณา ยงพิศาลภพ. (2564). แนวโน้มธุรกิจ/อุตสาหกรรม ปี 2564-2566: อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์. [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 10 กันยายน 2566, จาก https://www.krungsri.com/th/research/

industry/industry-outlook/hi-tech-industries/electronics/io/io-Electronics-21

สุพัตร์ตา งามดำ. (2566). คุณภาพการให้บริการ กลุ่มงานส่งเสริมการวิจัย โรงพยาบาลกลาง กรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการ สาธารณสุขชุมชน, 9(3), 69-80.

Aysel E., Sevtap, U., Burcu, C., & Hatice, Y. (2012). The effect of brand satisfaction, trust and

brand commitment on loyalty and repurchase intentions. Proceedings, Social and Behavioral Sciences, 58, 1395-1404.

Bloenmer, J., Ruyter, K, & Peeters, P. (1998). Investigating drivers of Bank Loyalty: The complex

relationship between image service quality and satisfaction. International Journal of

Bank Marketing, 16(7), 276-286.

Bracinikova, V., & Matusinska, K. (2018). Corporate image of banks from the Generation Y

Perspective. ACTA Universitatis Agriculturae et Silviculturae Mendelianae Brunensis, 66(2), 441-451

Chen, M.-C., Hsu, C.-L., & Lee, L.-H. (2019). Service quality and customer satisfaction in Pharmaceutical Logistics: An analysis based on Kano model and importance-satisfaction model. International Journal of Environmental Research and Public Health, 16(21), 4091.

International Organization for Standardization. (2015). Cleanrooms and associated controlled environments – Part 1: Classification of air cleanliness by particle concentration. (2nd ed.). United States: American National Standards Institute (ANSI).

Kurniawan, R., Andrianto, J., Nurhaiba, N., Trirahayu, N., Ibrahim, U., & Rizki, K. (2022). Effect of service quality and price on buying decision (Study of LBC Skin Care Bandung).

NEBB (n.d.). Cleanroom Performance Testing Firm Certification. [Online]. Retrieved September 30, 2023, from https://online.nebb.org/nebbssa/f?p=NEBBSSA:17800:4175906800707

Oliver, R. (2003). Cognitive, affective and attribute bases of the satisfaction response. Journal

of Consumer Research, 20 (12), 418-430.