องค์ประกอบที่มีผลต่อการพัฒนาประสิทธิผลการดำเนินธุรกิจเครือข่ายขายตรงในประเทศไทย

Main Article Content

โชคชัย หะริณพลสิทธิ์

บทคัดย่อ

          การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) องค์ประกอบด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง วัฒนธรรมองค์การ บรรยากาศองค์การ และความผูกพันต่อองค์การที่มีผลต่อ การพัฒนาประสิทธิผลการดำเนินธุรกิจเครือข่ายขายตรงในประเทศไทย (2) ค่าน้ำหนักปัจจัยของ การพัฒนาประสิทธิผลการดำเนินธุรกิจเครือข่ายขายตรงในประเทศไทย (3) แนวทางสำหรับผู้บริหารในการพัฒนาประสิทธิผลการดำเนินธุรกิจเครือข่ายขายตรงในประเทศไทย ผู้ให้ข้อมูลหลักที่ใช้ในการวิจัยเชิงคุณภาพ ได้แก่ นักธุรกิจเครือข่ายขายตรงระดับผู้บริหารทีมงานขึ้นไปที่ทำงานอยู่ในบริษัทที่ดำเนินธุรกิจเครือข่ายขายตรงในประเทศไทย จำนวน 20 คน โดยการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง การวิจัยเชิงปริมาณเก็บข้อมูลจาก นักธุรกิจเครือข่ายขายตรงที่ยังไม่มีตำแหน่งผู้บริหาร (ลูกทีม) ที่ทำงานอยู่ในบริษัทที่ดำเนินธุรกิจเครือข่ายขายตรงในประเทศไทย จำนวน 380 คน โดยการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง
          ผลการวิจัย พบว่า (1) องค์ประกอบด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง วัฒนธรรมองค์การ บรรยากาศองค์การ และความผูกพันต่อองค์การ ทุกปัจจัยมีผลต่อการพัฒนาประสิทธิผลการดำเนินธุรกิจเครือข่ายขายตรงในประเทศไทย โดยมีค่าอิทธิพลทางตรงเท่ากับ 0.63 0.50 0.59 และ 1.00 ตามลำดับ (2) ค่าน้ำหนักปัจจัยของ การพัฒนาประสิทธิผลการดำเนินธุรกิจเครือข่ายขายตรงในประเทศไทย ประกอบไปด้วย ด้านการเงิน (Lamda = 0.48) ด้านลูกค้า (Lamda = 0.64) ด้านกระบวนการภายใน (Lamda = 0.53) และด้านการเรียนรู้และพัฒนา(Learning and Growth : Lamda = 0.61) (3) แนวทางสำหรับผู้บริหารในการพัฒนาประสิทธิผลการดำเนินธุรกิจเครือข่ายขายตรงในประเทศไทย ต้องเน้นการปรับปรุงในเรื่องการให้ข้อมูลสินค้า ทั้งกับเครือข่ายเองและตัวลูกค้าผู้บริโภคที่ใช้สินค้าโดยตรงรวมถึง การแนะนำการใช้ ดิจิทัลเทคโนโลยี และสื่อโซเชียลมีเดีย มาช่วยเพิ่มประสิทธิผลในการบริหารจัดการให้มากขึ้น


*ดุษฎีนิพนธ์หลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี.10170. ภายใต้การควบคุมของอาจารย์ ดร.ลาวัลย์ ต้นสกุลรุ่งเรือง
Corresponding author: Chokchai6692@gmail.com

Article Details

How to Cite
หะริณพลสิทธิ์ โ. . (2023). องค์ประกอบที่มีผลต่อการพัฒนาประสิทธิผลการดำเนินธุรกิจเครือข่ายขายตรงในประเทศไทย. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม, 9(1), 55–73. https://doi.org/10.14456/jmsnpru.2022.5 (Original work published 30 มิถุนายน 2022)
บท
บทความวิจัย

References

แก้วตา ผู้พัฒนพงศ์ นิคม เจียรจินดา และ วิรมล เวศสุนทรเทพ. (2560). ภาวะผู้นำกับประสิทธิผลในการบริหารงานตามหลักการประเมินแห่งดุลยภาพ. วารสารเกษมบัณฑิต,18 (1), 106-119.

ณัฐพฤทธิ์ ศรีภักดี. (2552). ความสัมพันธ์ระหว่าง ภาวะผู้นำของหัวหน้างาน ความรู้ในงานที่ทำและบรรยากาศองค์การ ต่อความผูกพันองค์การของพนักงานในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ในนิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ จังหวัดลำพูน.การค้นคว้าแบบอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ภัทรลภา ลิ้มกิติศุภสิน. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างความผูกพันต่อองค์กรกับการมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพการบริการพยาบาล. สารนิพนธ์หลักสูตรปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

ภัณฑิลา นุ่มสังข์. (2556). วัฒนธรรมองค์กรและทัศนคติและบรรยากาศในการทำงานที่มีผลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของพนักงานระดับปฏิบัติการ กรณีศึกษาพนักงานระดับปฏิบัติการพนักงานบริษัทใน พื้นที่ย่านถนนเพลินจิต และถนนสุขุมวิท. สารนิพนธ์หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

นวลปรางค์ ภาคสาร และจันทนา แสนสุข. (2559). อิทธิพลของบรรยากาศองค์กรและความยุติธรรมขององค์กรที่มีต่อประสิทธิผลในการทำงานของบุคลากรสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาในเขตจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสารบริหารธุรกิจเทคโนโลยีมหานคร, 13 (1) , 43.65.

ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์. (2551). ทฤษฎีองค์การสมัยใหม่ (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: รัตนไตร.

พร ภิเศก. (2546). วัฒนธรรมองค์การและปัจจัยบางประการที่ส่งผลต่อประสิทธิผลโรงเรียน.ปริญญานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ.

พุทธพร สัมภวะผล และ พงษ์เทพ จันทสุวรรณ. (2559). วัฒนธรรมองค์การและแรงจูงใจในการทำงานที่ส่งผลต่อประสิทธิผลโรงเรียน ในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาในเขตภาคเหนือของประเทศไทย. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.4 (2) ,1-15.

พิชชาภา ทองดียิ่ง. (2561). การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลของธุรกิจเครือข่ายขายตรงในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต.สาขาการจัดการทั่วไป. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสยาม..

พินิจตา คากรฤาชา ภณิตา สุนทรไชย, และนิศารัตน์ โชติเชย. (2560). วัฒนธรรมองค์การที่มีผลต่อประสิทธิภาพการทำงานของบุคลากร สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติประจำจังหวัดในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 6 (4), 214-224.

วิรัช สงวนวงศ์วาน. (2547). การจัดการและพฤติกรรมองค์กร. กรุงเทพฯ : เพียร์สันเอ็ดดูเคชั่นอินโดไซน่า.

วิภานันท์ ภวพันธ์ และ สุวรรณา นาควิบูลย์วงศ์.(2558). การพัฒนารูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุความผูกพันต่อองค์การของพนักงาน ฝ่ายช่าง บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน).วารสารเกษตรศาสตร์ (สังคม).36, 498 - 509

สมหมาย ศรีทรัพย์. (2546). การรับรู้บรรยากาศองค์การกับการพัฒนาบุคลากรของสำนักเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

สุนทร วงศ์ไวศยวรรณ. (2540). วัฒนธรรมองค์การ แนวคิด งานวิจัย และประสบการณ์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์โฟร์เพชร

สุมณธกาญจน์ วุฒิพงศ์วรากร.(2558). การศึกษาอิทธิพลปัจจัยแห่งความสำเร็จของนักธุรกิจเครือข่ายและปัจจัยในการตัดสินใจซื้อที่ส่งผลต่อความพึงพอใจของผู้บริโภค.วิทยานิพนธ์หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ สำหรับผู้บริหาร วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

สัญญา สัญญาวิวัฒน์. (2549). ทฤษฎีและกลยุทธ์การพัฒนาสังคม (พิมพ์ครั้งที่ 6).กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Asiedu, M., Sarfo, J.O., & Adjei, D. (2014). Commitment and Organizational CitizenshipBehavior: Tool to Improve Employee Performance; An Internal Marketing Approach, European Scientific Journal, 10(4) , 288-305.

Allen, N. J., & Meyer, J. P. (1990). The measurement and antecedents of affective, continuance, And normative commitment to the organization. Journal of Occupational Psychology, 63(1) , 1-18.

Burns, J. M. (1978). Leadership. New York: Harper and Row.

Bakker, A. B. & Schaufeli, W. B. (2008). Positive organizational behavior: engaged employees in flourishing organizations. Journal of Organizational Behavior. 29 (2) , 147-154.

Brown, S. P., and Leigh, T. W. (1996). A new look at psychological climate and its relationship to job involvement, effort, and performance. Journal of Applied Psychology, 81(4) ,358.

Campbell, J. P. & Beaty, E (1977). On the nature of organizational effectiveness. New Perspectives on Organizational Effectiveness. Edited by Goodman, Paul S. and Penning, Johannes M. San Francisco: Jossey-Bass Publishers.

Cameron, K. S. and Quinn, R. E. (1999). Diagnosing and Changing Organizational Culture. Reading, MA: Addison-Wesley

Cooke, R. A., & lafferty, J.C. (1989). Organization culture inventory. Plymouth Ml: Human

Synergistics. Denison, D. R. (1990). Corporate Culture and Organizational Effectiveness. New York: Wiley.

Daft, R. L. (2008). The Leadership Experience. (4 th ed.) Mason, O.H.:Thomson/South-

Western.

Fleishman, E.A., & Harris, E.F. (1962). Patterns of Leadership Behavior Related to Employee

Grievances and Turnover. Personnel Psychology. 15 (2) , 43–56

French, J., & Raven, B. H. (1968). The bases of social power. New York: Harper & Row.

Fiedler, F. E.(1967) . A Theory of Leadership Effectiveness. New York: McGraw – Hill.

Greenberg, J., & Baron, R. A. (2000). Behavior in Organizations. Retrieved October 1, 2021,

form: http://www.alibris.com/search/books/qwork/7684670/used/Behavior%20in%20

Organizations

Gordon, J. R. (1999). Organizational Behavior: A Diagnostic Approach. (6th ed.). Upper

SaddleRiver, NJ: Prentice Hall.

Hall, et al. (1970). Theory of Personality. New York: John Willey & Son.

Hair J.F., Black, W.C., Babin,. B.J. and Anderson, R.E. (2010). Multivariate data analysis. (7th ed.). Upper Saddle River, NZ Prentice-Hall.

House, R. J. (1971). A path goal theory of effectiveness. Administrative Science. Quarterly. 1 (3) , 321-339.

Hersey, P. and Blanchard, K. H. (1982). Management of organizational behavior: Utilizing human resources. New York: Prentice -Hall

Hoy, W.K. and Ferguson, J (2004). A Theoretical Frame work and Exploration of Organizational Effectiveness in School. Educational Administration Quarterly, Singapore: McGraw – Hill, Inc.

Hellriegel, M. A. , J. W. Sloc and R. W. Woodman. (2001). Organizational Behavior. (9th ed.). New York: Prentice-Hall, Inc.

Kirkpatrick, S. A., & Locke, E. A. (1996). Direct and indirect effects of three core charismatic leadership components on performance and attitudes. Journal of applied psychology, 81(1), 36.

Kaplan, R.S., & Norton, D.P. (1996). Linking the balanced scorecard to strategy. California Management Review, 39 (1), 1-13.

Litwin, G.H., and Stringer, R.A. (1968). Motivation and Organizational Climate. Boston: Division of Research Harvard Business

Lawless, D.J. (1979). Organizational Behavior. (2nd ed.). New Jersey: Prentice-Hall,Inc. Luthans, F. (2004). Organizational Behavior. (10th ed.). New York: McGRAW-Hill Irwin

McGregor, D. (1960). Theory X and theory Y. Organization theory, 358 (374), 5.

Meyer, J. P. et al. (2002). Affective, Continuance, and Normative Commitment to the Organization: A Meta- analysis of Antecedents, Correlates, and Consequences. Journal of Vocational Behavior, 61(1) ,20-52.

Mester, D. I., Ronin, Y. I., Hu, Y., Peng, J., Nevo, E., & Korol, A. B. (2003). Efficient multipoint mapping: making use of dominant repulsion-phase markers. Theoretical and Applied Genetics, 107(6), 1102-1112.

Moorhead, Gregory, & Griffin, Ricky W. (1995). Organizational behavior: Managing people and organization (4th ed). Boston: Houghton Mifflin.

Mowday, R. T., Porter, L. W. & Steers, R. W. (1982). Employee - Organizational Linkage: The psychology of Commitment Absenteeism and Turnover. New York: Academic Press.

Organ, D. W., & Bateman, T. S. (1991). Organizational Behavior (4th ed.). Homewood: Irwin.

Pienaar, C. & Bester, C. L. (2008). The retention of academics in the early career phase: Empirical research. SA Journal of Human Resource Management, 6(2) ,32-41.

Poppens, B. B. (2001). Perceived and Preferred Organizational Culture Types and Organizational Commitment at Midwestern Private, Nonprofit Colleges. Retrieved January 15, 2021, from http://www.lib.umi.com/dissertations/fullcit/9991659

Reddin, W. J. (1970). Managerial effectiveness. New York: McGraw-Hill. Sheldon, M. (1971). An empirical analysis of organizational identification. Academy of Management Journal, 14, 143-150.

Slocum, J. W. and Hellriegel, D. (2011). Principles of Organizational Behavior. (13 thed.). Mason, OH: South-Western Cengage Learning

Stogdill, R. M. (1974). Handbook of Leadership: A Survey of Theory and Research. New York; The Free Press.

Steers, R. M. (1977). Motivation and Work Behavior. New York: McGraw-Hill.

Schein.,E.H.,(1973) Organizational Psychology. 2 Nd ed. Englewood Cliffs,NJ. Prentice –Hall.

Taylor, M.C., Cornelius, J.C. & Colvin, K. (2014). Visionary leadership and its relationship to organizational effectiveness. Leadership & Organization Development Journal, 35, 566-583, https://doi.org/10.1108/LODJ-10-2012-0130.

Vroom, V. & Phillip W. Y. (1973). Leadership and decision – making. Pittsburgh: University of Pittsburgh Press

Weber, M.. (1947). The Theory of Social and Economic Organization. (Handerson & ParsonTrans) Handerson and Tallcott Parson, (4th ed). New York: The free Press.

Yıldız, M. L & Özcan, E. D. (2014). Organizational Climate as a moderator of the Relationship between Transformational Leadership and Creativity. International Journal of Business and Management, 2(1) , 76-87.

Yukl, G.A. (1998). Leadership in Organization. (4th ed.). Englewood Cliffs, NJ : Prentice Hall