การศึกษาสภาพการณ์และปัญหาที่พบจากการเรียนการสอนภาษาฝรั่งเศส ตามแนวคิด perspective actionnelle ในโรงเรียนมัธยมศึกษาเขตภาคเหนือตอนบน

Main Article Content

Sarochin Ardharn

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์สภาพการณ์การสอนภาษาฝรั่งเศสในโรงเรียนมัธยมศึกษาเขตภาคเหนือตอนบน โดยมุ่งเน้นไปที่เจคติของผู้สอน ปัญหาที่พบจากการสอนตามแนวคิด perspective actionnelle และบทบาทของไวยากรณ์ในการสอนตามแนวคิดดังกล่าว การวิจัยนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสมผสานด้วยการเก็บข้อมูลจาก 1) แบบสอบถามเกี่ยวกับหนังสือแบบเรียน  2) การสัมภาษณ์ข้อมูลเชิงลึกจากผู้สอนภาษาฝรั่งเศสจำนวน 15 คน และ 3) การศึกษาเนื้อหาไวยากรณ์ในหนังสือแบบเรียนภาษาฝรั่งเศส ได้แก่ Adosphère 1 Adosphrère 2 Adomania 1 และ Adomania 2 ผลการวิจัยพบว่าโดยรวมผู้สอนมีเจตคติที่ดีต่อการสอนภาษาฝรั่งเศสตามแนวคิด perspective actionnelle แต่อย่างไรก็ตามยังพบปัญหาที่เกิดขึ้นจากการสอนตามแนวคิดดังกล่าว เช่น เนื้อหาไวยากรณ์ในแบบเรียนไม่เพียงพอสำหรับผู้เรียนซึ่งเกี่ยวโยงกับความไม่สอดคล้องระหว่างเนื้อหาที่สอนและข้อสอบระดับชาติวิชาภาษาฝรั่งเศส ปัญหาที่ผู้เรียนเคยชินกับการเรียนรู้แบบตั้งรับ และการขาดความกระตือรือร้นและแรงจูงใจของผู้เรียน รวมทั้งปัญหาทางด้านเวลาของผู้สอนและปัญหาเกี่ยวกับสิ่งอำนวยความสะดวกทางเทคโนโลยีเป็นต้น

Article Details

How to Cite
บท
บทความวิจัย

References

กรมวิชาการ,กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว

เกศินี ชัยศรี. (2556). สภาพการณ์การเรียนการสอนภาษาฝรั่งเศสในปัจจุบันและปัญหาการสอนภาษาฝรั่งเศสของโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดภูเก็ต. วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 19 (2), 100-127. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/psujssh/article/view/64095

จงกล สุภเวชย์และคณะ.(2556). คู่มือหนังสือเรียน Adosphère 1. สมาคมครูฝรั่งเศสแห่งประเทศไทย

ฉันฐรัช หงส์บุญไตร และคณะ. (2021). Silence in an EFL Classroom : The Interplay of Schwab’s Four Commonplaces ความเงียบในชั้นเรียนวิชาภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ: บทบาทความสัมพันธ์ของผู้สอน ผู้เรียน เนื้อหารายวิชา และบรรยากาศในชั้นเรียนตามทฤษฎีของ Schwab. Suranaree J. Soc. Sci., 15 (1), (128-146). https://so05.tci-thaijo.org /index.php/sjss/article /view/248240

พฤฒ ใบระหมาน. (2559) การประเมินความสอดคล้องระหว่างข้อสอบระดับชาติวิชาภาษาฝรั่งเศสกับกรอบมาตรฐานความสามารถทางภาษาของสหภาพยุโรปโดยใช้วิธีแผนที่ข้อสอบ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช]

ธีรา ศุขสวัสดิ์ ณ อยุธยา. (2560). ภาพแทนของไวยากรณ์ฝรั่งเศสจากนิทานไวยากรณ์ เรื่อง ไวยากรณ์คือบทเพลงอันแสนหวาน ของเอริค ออร์เซนนา. การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 8, 22 มิถุนายน 2560. 150-160. https://www.hu.ac.th/conference/conference2017/ proceedings/ data/05-1-Oral%20Presentation/2.Humanities%20and%20social%20sciences/15-G3-2-019H-O(ธีรา%20ศุขสวัสดิ์%20ณ%20อยุธยา).pdf

วรภัทร ดิศบุณยะ.(2563). ปัญหาการใช้ตำราไวยากรณ์และคู่มือภาษาสเปนระดับ A2 กับผู้เรียนชาวไทย: การใช้กาลอดีตสมบูรณ์รูปกริยาเดี่ยวและกาลอดีตไม่สมบูรณ์. วารสารรามคำแหง ฉบับมนุษยศาสตร์, 39 (2). 1-16. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/huru/article/view/246911/168013

สิรจิตต์ เดชอมรชัย. (2555). การประเมินผลการเรียนรู้ภาษาฝรั่งเศส. โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สิรจิตต์ เดชอมรชัย. (2562). พจนานุกรม ศัพท์ด้านการเรียนการสอนภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาต่างประเทศ (ภาษาฝรั่งเศส-อังกฤษ-ไทย). สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สิรจิตต์ เดชอมรชัย. (2564). การจัดการเรียนรู้ภาษาฝรั่งเศส:ทบทวน ทิศทาง ท้าทาย. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

สิรจิตต์ เดชอมรชัย และ เพ็ญพรรณ ทิพย์คง. (2564). การวิเคราะห์วิธีการสอนภาษาฝรั่งเศสในชั้นเรียน ระดับอุดมศึกษา. วารสารสมาคมครูภาษาฝรั่งเศสแห่งประเทศไทย, 44 (141) , 55-96. https://so01.tci-thaijo.org/index.php/bulletinatpf/article/view/247593/167361

เรียนภาษาฝรั่งเศสกับ Vocabdujour. (2564, กันยายน 23). สไลด์ประกอบการไลฟ์พูดคุยเรื่องข้อสอบวัดความถนัดทางภาษาฝรั่งเศส PAT 7.1 ปี 2560-2564 และ 2552-2554 เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2564 ใน Facebook. https://www.facebook.com/vocabdujour/photos/pb.100064532868681.-2207520000/4009006982536928/?type=3

สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2551). แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตร ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย

ศิริมา และเกศินี (2024). ปัญหาการจัดการเรียนการสอนภาษาฝรั่งเศสเชิงรุกในโรงเรียนมัธยมศึกษาในภาคใต้. Suranaree J. Soc. Sci, 18 (1), 1-21. https://www.researchgate.net/publication/ 365951493_ payhakarcadkarreiynkarsxnphasafrangsescheingruknirongreiynmathymsuksaniphakhti

สถาพร พฤฑฒิกุล. (2555). คุณภาพผู้เรียน.......เกิดจากกระบวนการเรียนรู้ QUALITY OF STUDENTS DERIVED FROM ACTIVE LEARNING PROCESS. วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา. 6(2) , 1 -13

Albarri, Houayda. (2021) Enseignement de la grammaire française dans l’approche actionnelle. Tishreen University Journal for Research and Scientific Studies -Arts and HumanitiesSeries, 4, 117-128. https://journals.openedition.org/lidil/6465

Bao, D. (2019). The place of silence in second language acquisition. ELTAR-J, 1 (1), 26-42. https://www.researchgate.net/publication/342072113_The_place_of_silence_in_second_language_acquisition

Bao, D., Thanh-My,Ng. (2020). How silence facilitates verbal participation. English Language Teaching Educational Journal, 3 (3), 188-197.https://files.eric.ed.gov/fulltext/EJ1283059.pdf

Beacco, J-C. (2020). Comment organizer l’enseignement du français langue étrangère et seconde?. LE FLE EN QUESTION Enseigner le français langue étrangère et seconde. MARDAGA

Bento, M. (2013). Regards théoriques sur la perspective actionnelle dans l’enseignement des langues en France. Éducation & didactiques,7 (1), 87-100. https://journals.openedition.org/educationdidactique/1404

Bento, M. (2019). Enseignement de la grammaire dans les manuels de FLE et approche actionnelle, Lidil, 59, 1-13. https://journals.openedition.org/lidil/6465

Conseil de l’Europe. (2001). Cadre européen commun de référence pour les langues. Didier

Cotton, Nathalie. (2009). Les représentations de la grammaire française chez les apprenants asiatiques. Revue japonaise de didactique du français Étude didactique, 4 (1), 168-176. https://www.jstage.jst.go.jp/article/rjdf/4/1/4_KJ00009937277/_article/-char/en

CUQ, J-P. (2003). Dictionnaire de didactique du français langue étrangère et seconde. Clé International

CUQ, J-P, Gruca, I. (2005). Cours de didactique du français langue étrangère et seconde.

Presses universitaires de Grenoble

CUQ, J-P. (2014). Approche actionnelle et évaluation de la compétence grammaticale. Université de Nice-Sophia Antipolis, UMR ADEF.

Himber, C, & Poletti, M. (2011). Adosphère 1- Livre de l’élève (A1). Hachette Français Langue Etrangère.

Himber, C, & Poletti, M. (2011). Adosphère 2- Livre de l’élève (A1/A2). Hachette Français Langue Etrangère.

Himber, C, & Brillant, C. (2016). Adomania 1- Livre de l’élève (A1). Hachette Français Langue Etrangère.

Himber, C, & Brillant, C. (2016). Adomania 2- Livre de l’élève (A1-A2). Hachette Français Langue Etrangère.

Jaime-Aree, P. (2013). La culture éducative dans les habitudes d’enseignements/apprentissage des participants en milieu thaïlandais. Bulletin de l’ATPF, 36 (125), 25-34. https://so01.tci-thaijo.org/ index.php/bulletinatpf/ article/ view/ 140981/ 104484

Jaimeearee, P. (2015) Les cultures éducatives dans les habitudes d’apprentissage des apprenants thaïlandais. Bulletin de l’ATPF, 38 (130), 44-49. https://so01.tci-thaijo.org/ index.php/bulletinatpf/article/view/139990/103826

Lebrun, M. (2018). Comparaison des Méthodes "actives" et "traditionnelles" avec le modèle IMAIP. Inspiré de Lebrun. M. (1999). Fr.slideshare. https://fr.slideshare.net/lebrun/ comparaison-des-methodes-actives-et-traditionnelles-avec-le-modle-imaip

Ling, Chen. (2014). Démarche inductive du FLE en contexte universitaire chinois : exemple de la grammaire. [mémoire de master 2, université stendhal Grenoble 3]. https://dumas.ccsd.cnrs.fr/dumas-01080382v1/file/LING%20Chen_M2R_DDF.pdf

Ling, Chen. (2021). Les étudiants chinois débutants face à la grammaire française : enjeux théoriques et propositions pédagogiques. Étude comparée de manuels et de grammaires chinois et français. [Thèse, université Grenoble Alpes]. https://theses.hal.science/tel-03157811/document

Puren, C. (2010). Les manuels récents de français langue étrangère : entre perspective actionnelle et approche communicative. FULGOR, 4(2), 34-54

Riquois, E. (2010). Évolutions méthodologiques des manuels et matériels didactiques complémentaires en FLE. Formation, 2010, 129-142

Robert, J-M. (2002). Sensibilisation au public asiatique. L’exemple chnois, Ela. Etude de linguistique appliquée, 126, 135-143. https://www.cairn.info/revue-ela-2002-2-page-135.htm

Tanriverdieva, K. (2002). La notion de grammaire dans l’enseigment/apprentissage du français langue étrangère. Rapport de recherche bibliographique Mars 2002.enssibal. enssib.fr/bibliotheque/documents/dessride/rrbtanriverdieva.pdf

Weimer (2020). L’approche actionnelle dans l’enseignement des langues : principes, analyses, séquences. L'Harmattan

Yanaprasart, P. (2001). « Histoire du français et sa présence actuelle dans le royaume thaï », Documents pour l’histoire du français langue étrangère ou seconde, 26, http://journals.openedition.org/dhfles/2056