การพัฒนาแบบจำลองสมการของปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจซื้อสินค้าผ่านพาณิชย์อิเล็คทรอนิกส์ ของกลุ่มผู้บริโภคในจังหวัดกรุงเทพมหานคร

Main Article Content

สุรัชดา เชิดบุญเมือง
กิตติภพ ตันสุวรรณ

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความสำคัญของปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจซื้อสินค้าผ่านพาณิชย์อิเล็คทรอนิกส์ของกลุ่มผู้บริโภคในจังหวัดกรุงเทพมหานคร 2) พัฒนาแบบจำลองสมการของปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจซื้อสินค้าผ่านพาณิชย์อิเล็คทรอนิกส์ของกลุ่มผู้บริโภคในจังหวัดกรุงเทพมหานคร เป็นการวิจัยเป็นเชิงปริมาณ เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 400 คน เป็นผู้บริโภคที่เคยซื้อสินค้าผ่านพาณิชย์อิเล็คทรอนิกส์ในจังหวัดกรุงเทพมหานคร สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ


เพื่อวิเคราะห์ตามวัตถุประสงค์จากผลการวิจัยพบว่าปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจซื้อสินค้าผ่านพาณิชย์อิเล็คทรอนิกส์ ของกลุ่มผู้บริโภคในจังหวัดกรุงเทพมหานคร มีดังนี้


1) ระดับความสำคัญมากที่สุด ( = 4.76, S.D.= 0.32)  คือ ปัจจัยด้านขับเคลื่อนการจับจ่ายบนพาณิชย์อิเล็คทรอนิกส์  (E-DS) จากเหตุผลว่ามีความประทับใจและง่ายต่อการค้นหาข้อมูลของสินค้าและบริการในเครือข่ายสังคมออนไลน์ ได้แก่ Facebook, Line, YouTube เป็นต้น และสื่อเทคโนโลยีทางการตลาด ได้แก่ การโฆษณา การประชาสัมพันธ์ และการส่งเสริมการขาย เป็นต้น และรองลงมา คือ ปัจจัยด้านความพึงพอใจใช้บริการในพาณิชย์อิเล็คทรอนิกส์  (E-CS) ( = 4.73, S.D.= 0.32) เมื่อมีคำแนะนำในการใช้งานที่ออกแบบไว้เพื่อให้บริการแก่ลูกค้าในการใช้พาณิชย์อิเล็คทรอนิกส์  และจะแนะนำให้ผู้อื่นทดลองซื้อสินค้าและบริการบนพาณิชย์อิเล็คทรอนิกส์เมื่อมีโอกาส


2) แบบจำลองสมการได้จากการหาค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์ถดถอยพหุคูณและนำมาเขียนเป็นสมการพยากรณ์ คือ E-PI= 0.902 + 0.356(E-PQ) + 0.228(E-CS) +0.120(TAM) + 0.103(E-DS) เป็นการพยากรณ์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจซื้อสินค้าของผู้บริโภคผ่านพาณิชย์อิเล็คทรอนิกส์ ในจังหวัดกรุงเทพมหานคร ที่มีค่าอำนาจพยากรณ์ร้อยละ 42.8 (R2=.428) มีค่าคลาดเคลื่อนมาตรฐานจากการพยากรณ์อยู่ที่ (+/-) 0.264 ที่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

Article Details

How to Cite
เชิดบุญเมือง ส. ., & ตันสุวรรณ ก. . (2023). การพัฒนาแบบจำลองสมการของปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจซื้อสินค้าผ่านพาณิชย์อิเล็คทรอนิกส์ ของกลุ่มผู้บริโภคในจังหวัดกรุงเทพมหานคร. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยธนบุรี, 17(2), 25–36. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/trujournal/article/view/266265
บท
บทความวิจัย

References

จิตลดา หมายมั่น และ สมบัติ ทีฆทรัพย์. (2559). Industry 4.0 อนาคตของอุตสาหกรรมไทย. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย. 10(1): 14-28.

ธิดารัตน์ ปสันน์สิริคุณ และ จิราภา พึ่งบางกรวย. (2560). ทัศนคติการซื้อสินค้าและบริการออนไลน์ของประชาชนในจังหวัดชลบุรี. วารสารการจัดการธุรกิจ. มหาวิทยาลัยบูรพา. 6(2): 30-42.

บุษยา วงษ์ชวลิตกุล สงวน วงษ์ชวลิตกุล ธนกร ลิ้มศรัณย์ อรอุมา ปราชญ์ปรีชา ทศพล ปราชญ์ปรีชา และ จอมภัค จันทะคัต. (2560). พฤติกรรมการซื้อและการวิเคราะห์องค์ประกอบปัจจัยที่มีผลต่อการซื้อสินค้าหรือบริการผ่านระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของผู้บริโภคในเขตเทศบาลนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา. วารสารวิชาการบริหารธุรกิจ. สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. 6(1): 95-113.

ปฤณพร บุญรังสี และประสพชัย พสุนนท์ (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเลือกใช้บริการโรงแรมของนักท่องเที่ยวชาวไทยในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี. 12(ฉบับพิเศษ): 193-205. (ตุลาคม 2561)

มนตรี พิริยะกุล ระพีพรรณ พิริยะกุล อรไท ชั้วเจริญ มานัส บุญยัง ประทานพร พิริยะกุล และ อินทกะ พิริยะกุล. (2558). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจใช้การทำธุรกรรมทางอินเทอร์เน็ตซ้ำ. วารสารลานนาวิชาการ. 1(1): 1-21.

มาร์เก็ตเทียร์. (2564). Internet User ในประเทศไทย 2564 ผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตไทยมากแค่ไหนเมื่อเทียบกับโลก. สืบค้นเมื่อ 20 เมษายน 2566 จาก https://marketeeronline.co/archives/208372.

วราพรรณ อภิศุภะโชติ และ ศิริพร เลิศไพศาลวงศ์. (2560). คุณภาพบริการอิเล็กทรอนิกส์ของห้องสมุดสถาบัน อุดมศึกษา. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 24(2): 31-47.

สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็คทรอนิกส์. (2563). ศัพท์ชวนรู้: e-commerce. สืบค้นเมื่อ 22 เมษายน 2566 จาก https://www.etda.or.th/th/Useful-Resource/ terminology/หมวดหม-E/252.aspx.

สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็คทรอนิกส์. (2564). งานแถลงผลการสำรวจรายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยปี 2564 (15 ธันวาคม 2564). สืบค้นเมื่อ 20 เมษายน 2566 จาก https://www. facebook.com/events/436986621407915/?acontext=%7B%22ref%22%3A%2252%22%2C%22action_history%22%3A%22[%7B%5C%22surface%5C%22%3A%5C%22share_link%5C%22%2C%5C%22mechanism%5C%22%3A%5C%22share_link%5C%22%2C%5C%22extra_data%5C%22%3A%7B%5C%22invite_link_id%5C%22%3A620473919151938%7D%7D]%22%7D

สุรัชดา เชิดบุญเมือง จิรวุฒิ หลอมประโคน และวิสุทธ์ กล้าหาญ. (2557). ปัจจัยการตลาดและพฤติกรรมการซื้อสินค้าผ่านระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของผู้บริโภคในเขตกรุงทพมหานคร. วารสารปัญญาภิวัฒน์. 5 (ฉบับพิเศษ): 76-91.

อรดา รัชตานนท์ กชพรรณ สัลเลขนันท์ โชติพัฒน์ กลิ่นสุคนธ์ จิรวัฒน์ ภู่งาม และมณฑล ศิริธนะ. (2563). ผลกระทบจากธุรกิจ e-commerce ต่อผู้ประกอบการท้องถิ่น. สืบค้นเมื่อ 20 เมษายน 2566 จาก https://www.bot.or.th/Thai/MonetaryPolicy/EconomicConditions/AAA/ECommerce_paper.pdf.

Ajzen, I. (1985). From intentions to action: A Theory of planned behavior. In J.Kuhl & J.Beckman (Eds.). Action-control: From cognition to behavior (pp.11-39). Heidelberg: Springer.

Akram, U., Hui, P., Khan, M.K., Tanveer, Y., Mehmood. K. & Ahmad, W. (2018). How website quality affects online impulse buying: Moderating effects of sales promotion and credit card use. Asia Pacific Journal of Marketing and Logistics. 30(1): 235-256.

Ali, A.A., Abbass, A. & Farid, N. (2020). Factors Influencing Customers’ Purchase Intention in Social Commerce. International Review of Management and Marketing. 10(5): 63-73.

Gan, C. & Wang, W. (2017). The influence of perceived value on purchase intention in social commerce context. Internet Research. 27(4): 772-785.

Han, B. & Kim, M. (2018). Exploring consumer attitudes and purchasing intentions of cross-border online shopping in Korea. Journal of Korea Trade. 22(2): 86-104.

Ma, S. (2017). Fast or free shipping options in online and Omni-channel retail? The mediating role of uncertainty on satisfaction and purchase intentions. The International Journal of Logistics Management. 28(4): 1099-1122.

Translated Thai References

Apisuphachok, W. & Lerdpaisalwong, S. (2017). E-Service Quality of AcademicLlibraries. Humanities Journal. 24(2): 31-47. (in Thai)

Bunrangsee, P. & Pasunon, P. (2018). Factors Affecting Hotel Selection of Thai Tourists in Bangkok. Journal of Humanities and Social Sciences Thonburi University. 12(Special): 193-205. (October, 2018). (in Thai)

Pasunsirikhun, T. & Phungbangkruay, J. (2017). Attitudes Towards Online Purchasing of Products and Services in Chonburi Province. Burapha Journal of Business Management. 6(2): 30-42. (in Thai)

Piriyakul, M., Piriyakul, R., Chaucharoen, O., Boonyoung, M., Piriyakul, P. & Piriyakul, I. (2015). Factors effecting intention to reuse internet transaction. Lanna Academy Journal. 1(1): 1-21. (in Thai)

Ratchatanon, A., Salleknun, K., Klintsukol, C., Phugham, C. & Siritana, M. (2020). The impact of e-commerce on local entrepreneurs. Retrieved April 20, 2023, from https://www.bot.or.th/Thai/MonetaryPolicy/EconomicConditions/AAA/ECommerce_paper.pdf. (in Thai)

Vongchavalitkul, B., Vongchavalitkul, S., Limsarun, T., Prachpreecha, O., Prachpreecha, T. & Jantakat, C. (2017). Purchasing Behaviors and Analysis of Marketing Factor Affecting Consumer’s E-Business transactions in Nakhonratchasima Municipality, Nakhonratchasima Province. Journal of Business Administration. The Association of Private Higher Education Institutions of Thailand. 6(1): 95–113. (in Thai)