ปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อความสำเร็จของผลการดำเนินงานเชิงนวัตกรรมของบุคลากรใน สถาบันอุดมศึกษากลุ่มเบญจมิตรในประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • ประฏิพัฒน์ แย้มชุติเกิดมณี คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยศรีปทุม
  • วิชิต อู่อ้น วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาด้านการจัดการ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

คำสำคัญ:

นวัตกรรมในที่ทำงาน, การจัดการองค์ความรู้, นวัตกรรมองค์กร, องค์การแห่งการเรียนรู้, ผลการดำเนินการเชิงนวัตกรรม

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยเชิงสาเหตุ 2) เพื่อศึกษาอิทธิพลของปัจจัยเชิงสาเหตุ และ 3) เพื่อสร้างแบบจำลองของปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อความสำเร็จของผลการดำเนินงานเชิงนวัตกรรมของบุคลากรในมหาวิทยาลัย/วิทยาลัยในกลุ่มเบญจมิตร โดยมีขอบเขตด้านเนื้อหาประกอบไปด้วย ตัวแปรนวัตกรรมในที่ทำงาน
การจัดการองค์ความรู้ องค์การแห่งการเรียนรู้ นวัตกรรมมองค์กร, ผลการดำเนินการเชิงนวัตกรรม โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีสำรวจ (Survey) และวิเคราะห์ทางสถิติด้วยสมการโครงสร้าง (Structural Equation Model : SEM)
ผลการศึกษาข้อมูลทั่วไปพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 420 ราย เป็นเพศหญิงร้อยละ 65.5 อายุอยู่ในช่วง 34 – 42 ปี ร้อยละ 30.3 สถานภาพทางครอบครัวเป็นโสดร้อยละ 49.5 การศึกษาอยุ่ในระดับปริญญาโทร้อยละ 72.3 เป็นอาจารย์ร้อยละ 84.0 มีประสบการณ์สอนระหว่าง 5 – 10 ปีคิดเป็นร้อยละ 40.5 จากการทดสอบสมมติฐานพบว่า นวัตกรรมในที่ทำงาน การจัดการองค์ความรู้ นวัตกรรมองค์กร และองค์การแห่งการเรียนรู้ส่งผลต่อผลการดำเนินการเชิงนวัตกรรม

จากการศึกษาครั้งนี้พบว่า 1) นวัตกรรมในที่ทำงาน การจัดการองค์ความรู้ องค์การแห่งการเรียนรู้ นวัตกรรมมองค์กรเป็นปัจจัยที่ใช้ในการอธิบายผลการดำเนินการเชิงนวัตกรรมได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 2) การผูกพันต่องาน การจัดการองค์ความรู้ ความผูกพันองค์กรมีอิทธิพลต่อความสำเร็จของผลการดำเนินงานเชิงนวัตกรรม และ 3) แบบจำลองของปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อความสำเร็จของผลการดำเนินงานเชิงนวัตกรรมของบุคลากรในมหาวิทยาลัย/วิทยาลัยในกลุ่มเบญจมิตรประกอบไปด้วยตัวแปรการผูกพันต่องาน การจัดการองค์ความรู้ ความผูกพันองค์กรสามารถทำหน้าที่เป็นตัวแปรอิสระ

References

กิตติมา ใจปลื้ม, นิลาวัลณ์ จันทะรังษี, อัมพล เจริญนนท์, เริงวิชญ์ นิลโคตร, วัยวุฒิ บุญลอย. (2564). การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 8(6), 46-60.

ทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์. (2559). การพัฒนาและประเมินความคิดสร้างสรรค์ในสถานศึกษา. วารสารศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัย บูรพา, 27(1), 1-14.

ประชาชาติธุรกิจออนไลน์. (2559). ผล PISA ประจานไทยเหลวทุกด้าน ทั้ง "หลักสูตร-ระบบสอน-วัดผล-ครู. สืนค้นเมื่อ 27 พฤศจิกายน 2565, จาก http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1481788873.

พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา. (2564). พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา. สืบค้นเมื่อ 27 พฤศจิกายน 2565, จาก https://www.edu sandbox.com

รักษ์รัศมี วุฒิมานพ. (2555). ลักษณะบุคคลและลักษณะงานที่มีความสัมพันธ์กับความผูกพันต่อองค์กรของพนักงาน. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

วิชิต อู่อ้น. (2550). การวิจัยและการสืบค้นข้อมูลทางธุรกิจ. กรุงเทพฯ: พรินท์แอทมี (ประเทศไทย).

สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้. (2553). รายงานประจำปี 2553. สืบค้นเมื่อ 27 พฤศจิกายน 2565, จาก https://www.okmd.or.th/upload/pdf/Annual-Report-2553.pdf

สุดาพร ทองสวัสดิ์, ประชุม รอดประเสริฐ; และ นิรันดร์ จุลทรัพย์. (2563). สภาพปัญหาและแนวทางการพัฒนาความผูกพันต่อองค์การของอาจารย์ประจํามหาวิทยาลัยเอกชนในประเทศไทย. วารสารวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ, 6(2), 354-368.

อริสรา บุญรัตน์. (2557). การสร้างภาพลักษณ์โดยการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันของมหาวิทยาลัยเอกชนในประเทศไทย. Journal of Faculty of Education Pibulsongkram Rajabhat University. 1(2), 123 - 131.

Hrnote. (2020). Learn Generation Alpha (Gen Alpha) to prepare for the labor market of the future. Retrieved from https://th.hrnote.asia/tips/190805-generation-alpha/

Huang, H., & Li, F. (2021). Innovation climate, knowledge management, and innovative work behavior in small software companies. Social Behavior and Personality: an international journal, 49(4), 1-17.

Ishak, R., & Mansor, M. (2020). The relationship between knowledge management and organizational learning with academic staff readiness for education 4.0. Eurasian Journal of Educational Research, 20(85), 169-184.

Koseoglu, M. A., Bektas, C., Parnell, J. A., & Carraher, S. M. (2010). Strategic decision-making process in global supply chain. Management Decision, 48(4), 517-542.

Lopez, S. P., Peón, J. M. M., & Ordás, C. J. V. (2005). Human resource management as a determining factor in organizational learning. Personnel Review, 34(2), 177-191.

Manomaikul, P., Polsaram, P., & Bovornsiri, P. (2020). Factors affecting student satisfaction with online learning during the COVID-19 pandemic: A case study of Mahasarakham University. Kasetsart Journal of Social Sciences, 41(3), 376-383.

Mardani, A., Nikoosokhan, S., Moradi, M., & Doustar, M. (2018). The relationship between knowledge management and innovation performance. The Journal of High Technology Management Research, 29(1), 12-26.

Office of the Higher Education Commission. (2018). Key statistics of education sector, academic year 2017. Retrieved from https://www.mua.go.th/users/bestman/downloads/statistics/2560/statistic 2560_2.pdf

Purwanto, A. (2020). Effect of hard skills, soft skills, organizational learning and innovation capability on Islamic University lecturers’ performance. Systematic Reviews in Pharmacy.

Rad, H. F., Shahi, S., & Fazeli, A. (2021). The role of transformational leadership and knowledge management in organizational innovation of schools. Образование и саморазвитие, 16(1), 40-53.

Rehman, U. U., & Iqbal, A. (2020). Nexus of knowledge-oriented leadership, knowledge management, innovation and organizational performance in higher education. Business Process Management Journal.26(6), 1731-1758.

Scott, W. R., & Bruce, R. A. (1994). Determinants of innovative behavior: A path model of individual innovation in the workplace. The Academy of Management Journal, 37(3), 580-607.

Thai-English Youth Dictionary. (2564). University. Retrieved from https://www.thai-language.com/home/written/394.

Witoorut, J. (2019). The Role of Human Resource Management in Developing the Potential of Educational Institution Managers and Personnel. Journal of Research and Development in Education, 13(1), 1-10.

Translated Thai References

Boonrat, A. (2014). Image Creation through Competitive Advantage Building of Private Universities in Thailand. Journal of Faculty of Education Pibulsongkram Rajabhat University. 1(2), 123 - 131. (in Thai)

Education sandbox. (2021). Education sandbox. Retrieved 27 November 2565, from https://www.edusandbox.com (in Thai)

Jaiplume, K., Chantarangsi, N., Charoennon, A., Nilkote, R., & Boonloy, W. (2022). Knowledge management to develop the school to learning organization. Journal of MCU Nakhondhat, 8(6), 46-60. (in Thai)

Office of Knowledge Management and Development (2010). Annual Report 2010. Retrieved on November 27, 2022 from https://www.okmd.or.th/upload/pdf/Annual-Report-2010.pdf (in Thai)

Prachachatonline. (2016). PISA results condemn Thai people in all aspects, including "curriculum-teaching system-measurement-teachers." Retrieved 27 November 2565, from http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1481788873. (in Thai)

Sudaporn, T.; Prachoom, R.; & Niran, C. (2020). States, problems and developing guidelines of academic staff’s organization commitment of the private universities in Thailand. Journal of Suvarnabhumi Institute of Technology, 6(2), 354-368. (in Thai)

Taweesak, C. (2016). The development and evaluation of creativity in educational institutions. Journal of Education Burapha University, 27(1), 1-14. (in Thai)

Wichit U-on. (2007). Research and Business Information Search. Bangkok: Print at Me (Thailand). (in Thai)

Wutthimanop, R. (2012). Characteristics of people and job characteristics related to organizational commitment of employees. Graduate school Srinakharinwirot University. (in Thai)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-05-03

How to Cite

แย้มชุติเกิดมณี ป. ., & อู่อ้น ว. . (2023). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อความสำเร็จของผลการดำเนินงานเชิงนวัตกรรมของบุคลากรใน สถาบันอุดมศึกษากลุ่มเบญจมิตรในประเทศไทย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยธนบุรี, 17(2), 106–119. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/trujournal/article/view/265187