การเปลี่ยนผ่านไปสู่มหาวิทยาลัยดิจิทัลที่ยั่งยืนตามกรอบแนวคิดตัวแบบมูลนิธิยุโรป เพื่อการจัดการคุณภาพ

Main Article Content

มะลิวรรณ พฤฒารา

บทคัดย่อ

เพื่อให้สามารถปรับตัวให้เท่าทันกับพลวัติการเปลี่ยนแปลงในยุคดิจิทัล หนึ่งในพันธกิจสำคัญและเร่งด่วนของมหาวิทยาลัย/สถาบันอุดมศึกษาทุกแห่ง คือ การมุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัยดิจิทัลที่ยั่งยืน จากมุมมองทางวิชาการยังไม่มีการเสนอกรอบแนวคิดแบบองค์รวมในการขับเคลื่อนนี้ให้ไปสู่ความสำเร็จ ดังนั้นบทความนี้ มีเป้าหมายที่จะปิดช่องว่างของงานวิชาการ โดยเสนอแนวทางการเปลี่ยนผ่านไปสู่มหาวิทยาลัยดิจิทัลที่ยั่งยืนตามกรอบแนวคิดตัวแบบมูลนิธิยุโรปเพื่อการจัดการคุณภาพ (European Foundation for Quality Management: EFQM) ซึ่งกรอบแนวคิดนี้ได้รับการยอมรับว่าเป็นกรอบแนวคิดเชิงระบบที่ขับเคลื่อนองค์กรไปสู่ความเป็นเลิศ โดยกรอบแนวคิดนี้ได้แบ่งปัจจัยที่พิจารณาออกเป็น 3 ปัจจัย ได้แก่ ปัจจัยขับเคลื่อน ปัจจัยผลลัพธ์ และปัจจัยส่วนการเรียนรู้และนวัตกรรม โดยปัจจัยขับเคลื่อน มี 5 องค์ประกอบ คือ ด้านภาวะผู้นำ ด้านกลยุทธ์ ด้านบุคลากร ด้านการเป็นหุ้นส่วนและทรัพยากร และด้านการจัดการกระบวนการ ในส่วนของปัจจัยผลลัพธ์ มี 4 มิติ คือ มิติด้านบุคลากร มิติด้านลูกค้า มิติด้านสังคม และมิติด้านการดำเนินงานธุรกิจ โดยที่ปัจจัยส่วนการเรียนรู้และนวัตกรรม จะเป็นตัวที่กระตุ้นให้เกิดกลไกการขับเคลื่อน ไปสู่ความยั่งยืน โดยบทความนี้ มีคุณค่าทางวิชาการในการเสนอกรอบแนวคิด EFQM ไปสู่การปฏิบัติ เพื่อขับเคลื่อนให้มหาวิทยาลัยประสบความสำเร็จในการเปลี่ยนผ่านไปสู่มหาวิทยาลัยดิจิทัลอย่างยั่งยืน

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

วิจารณ์ พานิช. (2558). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ ในศตวรรษที่ 21. วารสารนวัตกรรมการเรียนรู้, 1(2), 3-14.

Al Tabaa, O., Gadd, K., & Ankrah, S. (2013). Excellence models in the non-profit context: strategies for continuous improvement. International Journal of Quality & Reliability Management, 30(5), 590-612.

Bisogno, M., Dumay, J., Manes Rossi, F., & Tartaglia Polcini, P. (2018). Identifying future directions for IC research in education: a literature review. Journal of Intellectual Capital, 19(1), 10-33, doi: 10.1108/JIC-10-2017-0133.

Brusca, I., Cohen, S., Manes-Rossi, F., & Nicolò, G. (2019). Intellectual capital disclosure and academic rankings in european universities: do they go hand in hand?. Meditari Accountancy Research, 28(1), 51-71, doi: 10.1108/MEDAR-01-2019-0432.

Dahlgaard, J.J., Chen, C.K., Jang, J.Y., Banegas, L.A., & Dahlgaard-Park, S.M., (2013). Business excellence models: limitations, reflections and further development. Total Quality Management & Business Excellence, 24(5-6), 519–538.

Dejan, D., Ćoćkalo, D., Bešić, C., & Bogetić, S. (2018). The role of quality in the process of improving competitiveness of domestic economy. International Journal Advanced Quality, 46(1), 21-26.

Dubey, M. (2016). Developing an agile business excellence model for organizational sustainability. Global Business and Organizational Excellence, 35(2), 60-71.

Iacoviello, G., Bruno, E., & Cappiello, A. (2019). A theoretical framework for managing intellectual capital in higher education. International Journal of Educational Management, 33(5), 919-938, doi: 10.1108/IJEM-02-2018-0080.

Mbote, K.M.P., Kiragu, D.N.U., Marwa, S.M., & Theuri, M.M. (2018). Effect of partnerships and collaborations on performance excellence in universities in Kenya. International Journal of Economics, Business and Management Research, 2(2), 547-560.

Oakland, Ã.J.S., & Tanner, S.J. (2008). The relationship between business excellence and performance – an empirical study using Kanji’s leadership excellence model. Total Quality Management, 19(7), 733-749.

Pavel, A. (2018). An investigation of interconnection between business excellence models and corporate sustainability approach. European Journal of Sustainable Development, 7(1), 381-394.

Pfeffer, J., & Salancik, G. (1978). The external control of organizations: A resource dependence perspective. New York: Harper and Row.

Ramadan, B.M., Dahiyat, S.E., Bontis, N. & Al-Dalahmeh, M.A. (2017). Intellectual capital, knowledge management and social capital within the ICT sector in Jordan. Journal of Intellectual Capital, 18(2), 437-462, doi: 10.1108/JIC-06-2016-0067.

Verhoef, P. C., Broekhuizen, T., Bart, Y., Bhattacharya, A., Qi Dong, J., Fabian, N., & Haenlein, M. (2021). Digital transformation: A multidisciplinary reflection and research agenda. Journal of Business Research, 122, 889–901.

Vial, G. (2019). Understanding digital transformation: A review and a research agenda. The Journal of Strategic Information Systems, 28(2), 118–144.

Translated Thai References

Panich, Wijarn. (2015). A way of creating learning for students in the innovation curriculum 21. Journal of Learning Innovations, 1(2), 3-14. (in Thai)