ความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างของความสามารถขององค์การ และความรับผิดชอบต่อสังคมที่ส่งผลต่อความยั่งยืนของอุตสาหกรรมสีเขียวที่ได้รับการรับรองในประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • ศิริรัตน์ ตรงวัฒนาวุฒิ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
  • ปิยวรรณ สิริประเสริฐศิลป์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยแม่โจ้

คำสำคัญ:

ความสามารถขององค์การ, ความรับผิดชอบต่อสังคม, ความยั่งยืน, อุตสาหกรรมสีเขียวได้รับการรับรองในประเทศไทย

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างของความสามารถขององค์การ และความรับผิดชอบต่อสังคมที่ส่งผลต่อความยั่งยืนของอุตสาหกรรมสีเขียวได้รับการรับรองในประเทศไทย โดยผู้วิจัยเก็บข้อมูลจากผู้ประกอบการโรงงานที่ได้ใบรับรองระดับที่ 1 ถึง 5 ใน 9 กลุ่มอุตสาหกรรมสีเขียวที่เกี่ยวข้องกับผลิตผลเกษตรกรรม พืช ผัก อาหาร เครื่องปรุงหรือเครื่องประกอบอาหาร ชา กาแฟ จำนวน 3,387 โรงงาน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ มีขนาดกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 438 โรงงาน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม และสถิติที่ใช้ คือค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์โครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ผลการวิจัย พบว่า แบบจำลองมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ มีค่าดัชนีทดสอบความตรงของโมเดลความกลมกลืนโดยรวมอยู่ในเกณฑ์ดีทุกค่า และการทดสอบสมมุติฐาน พบว่า ความสามารถองค์การ (ORC) มีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อความยั่งยืน (SUS) โดยมีขนาดอิทธิพลทางตรงเท่ากับ 0.932 อีกทั้งยังมีอิทธิพลทางอ้อมในเชิงบวกผ่านความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) โดยมีขนาดอิทธิพลทางอ้อมเชิงบวกเท่ากับ 0.392 และมีขนาดของอิทธิพลรวมเชิงบวกเท่ากับ 0.956 และความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) มีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อความยั่งยืน (SUS) โดยมีขนาดอิทธิพลทางตรงเท่ากับ 0.421 และมีขนาดของอิทธิพลรวมเท่ากับ 0.421 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ซึ่งสอดคล้องกับสมมุติฐานการวิจัย

References

กระทรวงอุตสาหกรรม. (2554). อุตสาหกรรมสีเขียว. สืบค้นเมื่อ 1 ธันวาคม 2564, จาก http://www.industry.go.th/chainat/index.php/download/2016-06-03-00-10-23/214-2016-07-06-03-36-25/file

ธนันธร มหาพรประจักษ์. (2563). ฟอรั่มเศรษฐกิจโลกกับการพัฒนาอย่างยั่งยืน. สืบค้นเมื่อ 1 ธันวาคม 2563, จาก https://www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPublications/articles/Pages/Article_17Feb2020.aspx

วรวุฒิ ไชยศร , และ บุญสม เกษะประดิษฐ์. (2560). ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจกับการพัฒนาที่ยั่งยืน: กรณีศึกษาความรับผิดชอบต่อสังคม 6 บริษัท. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 9(3), 140-152.

วิฑูรย์ สิมะโชคดี. (2555). อุตสาหกรรมสีเขียวของไทย. วารสาร TPA News, 16(187), 26.

ศิริรัตน์ ตรงวัฒนาวุฒิ และ ปิยวรรณ สิริประเสริฐศิลป์. (2565ก). ความสามารถขององค์การด้านสิ่งแวดล้อม : แนวคิด นิยามความ สำคัญ และแนวทางการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนของอุตสาหกรรมสีเขียวที่ได้รับการรับรองในประเทศไทย. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 10(2), 871-885.

ศิริรัตน์ ตรงวัฒนาวุฒิ และ ปิยวรรณ สิริประเสริฐศิลป์. (2565ข). ความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างของความสามารถขององค์การ และความรับผิดชอบต่อสังคมที่ส่งผลต่อความยั่งยืนของอุตสาหกรรมสีเขียวที่ได้รับการรับรองในประเทศไทย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยธนบุรี, 16(3).

ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจ ธนาคารไทยพาณิชย์. (2559). จับทิศทางอุตสาหกรรมไทย ปี 2559. ธนาคารไทยพาณิชย์.

Annunziata, E., Pucci, T., Frey, M., & Zanni, L. (2018). The role of organizational capabilities in attaining corporate sustainability practices and economic performance: Evidence from Italian wine industry. Journal of cleaner production, 171, 1300-1311.

Boonchaisuk, P. (2013). Creative industries Driving the Thai economy stronger. Retrieved December 1, 2020, from http://library.dip.go.th/multim6/edoc/2556/22145.pdf

Carroll, A. B. (1979). A three-dimensional conceptual model of corporate performance. Academy of management review, 4(4), 497-505.

Economic Intelligence Center. (2016). Catch the Thai industrial direction in 2016. Bangkok: The Siam Commercial Bank Public Company Limited. (in thai)

Erturgut, R. (2012). The future of supply chain and logistics management in the strategic organizations: contractor companies and new generation suppliers. Procedia-Social and Behavioral Sciences, 46(1), 4221-4225.

Grewatsch, S. ; & Kleindienst, I. (2018). How organizational cognitive frames affect organizational capabilities: The context of corporate sustainability. Long Range Planning, 51(4), 607-624.

Helfat, C. E. & Peteraf, M. A. (2003). The dynamic resource based view: Capability lifecycles. Strategic management journal, 24(10), 997-1010.

Inan, G. G., & Bititci, U. S. (2015). Understanding Organizational Capabilities and Dynamic Capabilities in the Context of Micro Enterprises: A Research Agenda. Procedia - Social and Behavioral Sciences, 210, 310-319.

Samad, S., Aziz, N. N. A., Jaidi, J., & Masoud, Y. A. (2016). Influence of organizational capability on competitive advantage in small and medium enterprises (SMEs). International Business Management, 10(18), 4163-4171.

Santos, M. (2011). CSR in SMEs: strategies, practices, motivations and obstacles. Social Responsibility Journal, 7(3), 490-508.

Schienstock, G. (2009). Organizational Capabilities: Some reflections on the concept. IAREG-Intangible Assets and Regional Economic Growth, 1(2), pp. 39-53.

Shi, J., Huang, W., Han, H., & Xu, C. (2021). Pollution control of wastewater from the coal chemical industry in China: Environmental management policy and technical standards. Renewable and Sustainable Energy Reviews, 143, 110883.

Translated Thai References

Chaisorn, W. & Kesapradist, B. (2017). Corporate Social Responsibility and Sustainable Development :case study of 6 company. Panyapiwat Journal, 9(3), 140-152.

Mahapornprachak, T. (2020). World Economic Forum on Sustainable Development. Retrieved December 13, 2020, https://www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPublications/articles/Pages/Article_17Feb2020.aspx (in thai)

Ministry of Industry. (2011). Green Industry. Retrieved December 1, 2020, from http://www.industry.go.th/chainat/index.php/download/2016-06-03-00-10-23/214-2016-07-06-03-36-25/file (in thai)

Simachokedee, W. (2012). Thai green industry. TPA News, 16(187), 26. (in thai)

Trongwattanawuth, S. & Siriprasertsin, P. (2022a). Organizational Capabilities on Environmental: Concepts, Definition and Guideline for Operational of Environment Sustainability of Certified Green Industry in Thailand. The Journal of MCU Peace Studies, 10(2), 871-885. (in thai)

Trongwattanawuth, S. & Siriprasertsin, P. (2022b). The Structural Relationship Model of Organizational Capability and Corporate Social Responsibility Affecting the Sustainability of the Certified Green Industry in Thailand. Journal of Humanities and Social Sciences Thonburi University, 16(3). (in thai)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-09-01

How to Cite

ตรงวัฒนาวุฒิ ศ., & สิริประเสริฐศิลป์ ป. (2022). ความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างของความสามารถขององค์การ และความรับผิดชอบต่อสังคมที่ส่งผลต่อความยั่งยืนของอุตสาหกรรมสีเขียวที่ได้รับการรับรองในประเทศไทย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยธนบุรี, 16(3), 71–82. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/trujournal/article/view/259584