ปัจจัยคุณภาพการบริการจัดส่งอาหารพร้อมบริโภคที่ส่งผลต่อการกลับมาใช้ซ้ำ ภายใต้สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในจังหวัดชลบุรี

Main Article Content

กวิน พินสำราญ
จุติพร สุวกุลศิริ
สุธิพงษ์ จันทรธานี

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยคุณภาพการให้บริการจัดส่งอาหารแบบพร้อมบริโภค และเพื่อศึกษาปัจจัยคุณภาพการบริการจัดส่งอาหารแบบพร้อมบริโภคที่ส่งผลต่อการกลับมาใช้บริการซ้ำ ภายใต้สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในจังหวัดชลบุรี กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ใช้บริการจัดส่งอาหารแบบพร้อมบริโภคในจังหวัดชลบุรี จำนวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ นำมาวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า 1) ปัจจัยคุณภาพการให้บริการจัดส่งอาหารแบบพร้อมบริโภค รายด้านพบว่าอยู่ในระดับมาก ด้านการให้ความเชื่อมั่นต่อผู้รับบริการมีค่าเฉลี่ยมากที่สุด
2) ปัจจัยคุณภาพการบริการจัดส่งกับการกลับมาใช้บริการซ้ำ พบว่าความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันอยู่ในระดับปานกลาง และ3) ปัจจัยคุณภาพการบริการที่ส่งผลต่อการกลับมาใช้บริการซ้ำ พบว่ามีปัจจัย 5 ด้าน ได้แก่ ด้านการป้องกันการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 มีผลต่อการกลับมาใช้บริการซ้ำเป็นอันดับแรก รองลงมา คือ ด้านการรู้จักและเข้าใจผู้รับบริการ ด้านการตอบสนองต่อผู้รับบริการ ด้านความเป็นรูปธรรมในการบริการ และด้านการให้ความมั่นใจแก่ผู้รับบริการตามลำดับ ในขณะที่ปัจจัยด้านความเชื่อถือไว้วางใจได้ ไม่ส่งผลต่อการกลับมาใช้บริการซ้ำของการบริการจัดส่งอาหารแบบพร้อมบริโภค ภายใต้สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในจังหวัดชลบุรี

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

เกตุวดี สมบูรณ์ทวี. (2561). ปัจจัยด้านคุณภาพการบริการที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อซ้ำ ผลิตภัณฑ์อาหารผ่านผู้ให้บริการ Food Panda Application. วารสารการจัดการสมัยใหม่. 16(1), 153-162.

กรมควบคุมโรค. (2564). แนวทางปฏิบัติเพื่อการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) หรือโควิด-19 สำหรับประชาชนทั่วไปและกลุ่มเสี่ยง. สืบค้นเมื่อ 7 กุมภาพันธ์ 2564, จาก https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/file/int_protection/int_protection_030164.pdf

กระทรวงสาธารณสุข. กรมอนามัย. (2564). แนวปฏิบัติด้านสาธารณสุขเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) การจัดบริการอาหารในรูปแบบเดลิเวอรี่ (Delivery). สืบค้นเมื่อ 13 กุมภาพันธ์ 2564, จาก https://stopcovid.anamai.moph.go.th/attach/w774/f20210622134921_QYEFZs6N5j.pdf

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2550). การวิเคราะห์สถิติ: สถิติสำหรับบริหารและวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ณัฐฎาพร สถิตย์. (2560). คุณภาพบริการ และการอ้างอิงบอกต่อที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจของลูกค้าในการกลับมาใช้บริการซ้ำที่ศูนย์มิตซูไทยธาดา (ฉะเชิงเทรา) สำนักงานใหญ่. (การค้นคว้าอิสระ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

ณิชาภัทร บัวแก้ว. (2561). พฤติกรรมการใช้บริการ คุณภาพ และประสิทธิภาพที่ได้รับที่ส่งผลต่อการใช้บริการซ้ำเปรียบเทียบระหว่างบริษัท ขนส่งเคอรี่เอ็กซ์เพรส จำกัด และบริษัทไปรษณีย์ไทย จำกัด.(การค้นคว้าอิสระ ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

รสสุคนธ์ แซ่เฮีย. (2556). ปัจจัยพฤติกรรมการใช้บริการโรงแรม คุณภาพการบริการ ส่วนผสมการตลาดบริการและคุณค่าตราสินค้าที่ส่งผลต่อความพึงพอใจของลูกค้าชาวต่างชาติที่ใช้บริการโรงแรมระดับห้าดาวแห่งหนึ่งในจังหวัดกรุงเทพมหานคร. (การค้นคว้าอิสระ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

วงใน. (2563). เดลิเวอรีช่วยหรือฉุดร้านอาหาร เผยทุกคำตอบจากเจ้าของร้านอาหาร @ชลบุรี. สืบค้นเมื่อ 15 เมษายน 2564, จาก https://www.wongnai.com/business-owners/delivery-wongnai-lineman-chonburi?ref=ct

วรัสสิญา ศุภธนโชติพงศ์. (2562). คุณภาพการบริการที่ส่งผลต่อความตั้งใจที่จะใช้บริการซ้ำของลูกค้าธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) กรณีศึกษาพื้นที่ส่วนกลางกรุงเทพมหานคร ภาค203. (วิทยานิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ศรัณยพงศ์ เที่ยงธรรม. (2552). ปัจจัยประเมินคุณภาพการบริการ. (เอกสารเชิงวิชาการ). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

ศูนย์กสิกรไทย. (2563). Food Delivery โควิด...ดันธุรกิจโตต่อ. สืบค้นเมื่อ 15 เมษายน 2564, จาก https://www.kasikornresearch.com/th/analysis/k-social-media/Pages/Food-Delivery-FB-24-08-21.aspx

อโนทัย ตรีวานิช. (2552). สถิติธุรกิจ. พิมพ์ครั้งที่ 4. ขอนแก่น: ขอนแก่นการพิมพ์.

Best, J. W. (1977). Research in Education. (3 rd ed). New Jersey: Prentice hall Inc

Bland, J.M.; & Altman, D.G. (1999). Measuring agreement in method comparison studies. Statistical Methods in Medical Research, 8, 135–160.

Cochran, W.G. (1977). Sampling Techniques. 3rded. New York: John Wiley and Sons Inc.

Cronbach, L.J. (1990). Essentials of psychological testing. 5thed. New York: Harper & Row. 202-204.

Lewis, Mark & Parooj Bloom. (1983). Organization Behavior. New York: Mc Graw Hill.

Parasuraman, A., Zeithaml, V.A., & Berry, L.L. (2013). A Conceptual Model of Service Quality and Its Implications for Future Research. Journal of Marketing. 49, 22-25.

Taylor, S. A., & Baker, T. L. (1994). An assessment of the relationship between service quality and customer satisfaction in the formation of consumers’ purchase intentions. Journal of Retailing, 70(2), 163-178.

Zeithmal,V.A., Berry,L.L.;& Parasuraman, A. (1996). The behavioral consequences of service quality. Journal of Marketing Management, 60(4), 31-46.

Translated Thai References

Buakaew, N. (2016). Service usage behavior, received quality and received efficiency affecting repeat service usage by comparing between Kerry express company limited and Thailand Post Company Limited. Independent Research Master of Business Administration. Rajamangala University of Technology Thanyaburi. (in Thai)

Department of Disease Control. (2021). Guidelines for the prevention of coronavirus disease 2019 (COVID-19) or covid-19 for the general public and at risk groups. Retrieved February 7, 2021, from https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/file/int_protection/int_protection_030164.pdf (in Thai)

Kasikorn Center. (2020). Food Delivery. Covid. pushing business to continue to grow. Retrieved April 15, 2021, form https://www.kasikornresearch.com/th/analysis/k-social-media/Pages/Food-Delivery-FB-24-08-21.aspx (in Thai)

Sae-here, R. (2019). Customer Behaviors of Using Hotel’s Service, Service Marketing Mix and Brand Equity Affecting Foreign Customer Satisfaction toward Hotel’s Service : A Case Study of the Five-Star Hotel in Bangkok. (Independent Research Master of Business Administration). Bangkok University. (in Thai)

Satit, N. (2015). Service Quality and Word-of-mouth Referrals Influencing Service Repurchase Intention of Customers at Mitsubishi Thaitada Chachoengsao Head Office. Independent Research Master of Business Administration). Bangkok University. (in Thai)

Sombultawaee, K. (2019). Service quality factors affecting repurchasing decision in food product via service provider food panda application. Journal of Modern Management Science. 16(1), 153-162. (in Thai)

Suphathanachotipong, V. (2019). Quality of Service that Affects the Intention of Customer to Repurchase bank of Ayutthaya a Public Company Limited a Case Study of Bangkok Metropolitan area, region 203. (A Thesis Master of Business Administration). Silpakorn University. (in Thai)

The Ministry of Public Health. Department of Health. (2021). Public health practices to preventthe spread of infection Coronavirus 2019 (COVID-19) Food delivery service (Delivery). Retrieved February 13, 2021, from https://stopcovid.anamai.moph.go.th/attach/w774/f20210622134921_QYEFZ s6N5j.pdf (in Thai)

Thiengtham, S. (2009). Factors for assessing service quality. (Academic documents). Bangkok: Bangkok University. (in Thai)

Trevanich, A. (2009). Bussiness statistics. 4thed. khon kaen: Khon kaen Press. (in Thai)

Wanichbancha, K. (2007). Statistical Analysis: Statistics for Administration and Research. 10thed. Bangkok: hulalongkorn University Press. (in Thai)

Wongnai. (2020). Deliveries help or drag restaurants. Reveal every answer from the owner of the restaurant @Chonburi. Retrieved April 15, 2021, form https://www.wongnai.com/business-owners/delivery-wongnai-lineman-chonburi?ref=ct (in Thai)