ส่วนประสมทางการตลาด และการเป็นผู้ประกอบการที่มีผลต่อความรู้ความเข้าใจของ การผลิตเกษตรอินทรีย์ในเขตจังหวัดอุบลราชธานี

ผู้แต่ง

  • อัยรดา พรเจริญ คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
  • เมริษา กล้าหาญ คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
  • สไบพร สุวรรณกูฏ คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
  • ฝอยฝน คำแหง คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

คำสำคัญ:

ความรู้ความเข้าใจ, เกษตรอินทรีย์, ส่วนประสมทางการตลาด, การเป็นผู้ประกอบการ

บทคัดย่อ

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาส่วนประสมทางการตลาด และการเป็นผู้ประกอบการที่มีผลต่อความรู้ความเข้าใจของการผลิตเกษตรอินทรีย์ ในเขตจังหวัดอุบลราชธานี 2) เพื่อเปรียบเทียบส่วนประสมทางการตลาด และการเป็นผู้ประกอบการที่มีผลต่อความรู้ความเข้าใจของการผลิตเกษตรอินทรีย์ ในเขตจังหวัดอุบลราชธานี โดยจำแนก อายุ ระดับการศึกษา รายได้เฉลี่ยต่อเดือน จำนวนสมาชิกในครัวเรือน สถานภาพ และอาชีพ ตัวอย่างจำนวน 355 คน สุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบ t-Test การทดสอบ F-Test และการทดสอบค่าถดถอยพหุคูณ พบว่า 1) ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 51-60 ปี ระดับการศึกษาสูงสุดชั้นประถมศึกษาที่ 4 รายได้ต่อเดือนต่ำกว่า 10,000 บาท จำนวนสมาชิกในครัวเรือน 3-4 คน สถานภาพสมรส และมีอาชีพเกษตรกร 2) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน อายุต่างกันมีความคิดเห็นต่างกัน การศึกษาต่างกันมีความคิดเห็นต่างกัน รายได้ต่างกันมีความคิดเห็นต่างกัน สมาชิกในครัวเรือนต่างกันมีความคิดเห็นต่างกัน สถานภาพต่างกันมีความคิดเห็นต่างกัน และอาชีพต่างกันมีความคิดเห็นต่างกัน ด้านความรู้ความเข้าใจ พบว่า เจตคติต่อปัจจัยด้านการผลิตโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากมีค่าเฉลี่ย 3.86 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.73 และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ผู้ผลิตผักเกษตรอินทรีย์ได้รับความรู้จากเพื่อนและญาติพี่น้องในการปลูกผักเกษตรอินทรีย์

References

กรมส่งเสริมการเกษตร. (2562). รายงานรายชื่อและจำนวนสมาชิกของวิสาหกิจชุมชน. สืบค้นเมื่อ 19 มกราคม 2562, จากhttps://smce.doae.go.th/smce1/report/report_smce01.php?page_size=20&PAGE=163&typeSmce=1&amphur=&province=&levelSearch=&startPage=163&endPage=172&fbclid=IwAR1eWhy8CVD5ZOrgC0uo9WKezdTipb0To3dn9K8ByTUpm4ladt520fMzeCE.

ณัทกิจพัฒน์ หอมวิจิตรกุล, ชาคริต กุลอิสริยาภรณ์, นภาพร ขันธนภา และชัยฤทธิ์ ทองรอด. (2560). ความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์อินทรีย์จากการรับรู้ค่าและความคุ้นเคยที่ส่งผ่านความเชื่อมั่นและ ยึดติดกับผลิตภัณฑ์เดิม. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี. 11(26): 71-80.

พสชนันท์ บุญช่วย และประสพชัย พสุนนท์. (2561). การวิเคราะห์ปัจจัยและจัดกลุ่มการเลือกบริโภคผักปลอดสารพิษของผู้บริโภคจังหวัดนครปฐม. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี. 12(28): 53-63.

มูลนิธิเกษตรกรรมยั่งยืน. (2562). ความรู้เกษตรกรรมยั่งยืน. สืบค้นเมื่อ 8 มิถุนายน 2562, จาก http://www.sathai.org.

ศูนย์ปฏิบัติการข้อมูลการตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์. (2562). สถานการณ์การผลิต. สืบค้นเมื่อ 8 มิถุนายน 2562, จาก http://www. organic.moc.go.th/th/production/publications.

สมาคมการค้าเกษตรอินทรีย์ไทย. (2554). ตลาดเกษตรอินทรีย์ไทย. สืบค้นเมื่อ 8 มิถุนายน 2562, จากhttp://www.thaiorganic trade.com/articles/archive/201106.

อัยรดา พรเจริญ เมริษา กล้าหาญ สไบพร สุวรรณกูฏ และฝอยฝน คำแหง (2562). ส่วนประสมทางการตลาด และการเป็นผู้ประกอบการที่มีผลต่อความรู้ความเข้าใจของการผลิตเกษตรอินทรีย์ในเขตจังหวัดอุบลราชธานี. คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.

Everitt, B. S. (2010). Mulitivariable Modeling and Mulitivariate Analysis for the Behavioral Sciences. New York: Taylor & Francis Group, LLC.

IFOAM-Organics International. (2019). The Principle of Care. Retrieved June 22, 2019, from https://www.ifoam. bio/en/principles-organic-agriculture/principle-care.

Kadilar, C. & Cingi, H. (2005). A New Ratio Estimator in Stratified Random Sampling. Communications in Statistics-Theory and Methods. 34(3): 597-602.

Liu, R., Pieniak, Z., & Verbeke, W. (2014). Food-related hazards in China: Consumers' perceptions of risk and trust in information sources. Food Control. 46(1): 291-298.

Nunnally, J. C. (1978). Psychometric Theory. New York: McGraw-Hill.

Robinson, L. (2019). Organic Foods: What You Need to Know. Retrieved June 22, 2019, from https://www. helpguide.org/articles/healthy-eating/organic-foods.htm.

Tiwari, P., Bhat, A. & Tikoria, J. (2017). An empirical analysis of the factors affecting social entrepreneurial intentions. Journal of Global Entrepreneurship Research. 7(9): 1-25.

Yamane Taro. (1973). Statistics: An Introductory Analysis. 3rd ed. New York: Harper and Row Publication.

Zhang, Y., Wang, L. & Duan, Y. (2016). Agricultural information dissemination using ICTs: A review and analysis of information dissemination models in China. Information Processing in Agriculture. 3(1): 17-29.

Alliance, P. (2019). Environmental. Retrieved June 22, 2019, from https://www.pachamama.org/environmental-awareness.

Chait, J. (2019). Sustainable business. Retrieved June 22, 2019, from https://www.thebalancesmb.com/what-is-an-agricultural-product-2538211.

Translated Thai References

Boonchuai, P. & Pasunon, P. (2018). Factors analysis and grouping consumption of organic vegetable in Nakhonpathom. Journal of Thonburi University. 12(28), 53-63. (in Thai).

Department of Agricultural Extension. (2019). Report of names and number of members of community enterprises. Retrieved January 19, 2019, from https://smce.doae.go.th/smce1/report/report_smce01. php?page_size=20&PAGE=163&typeSmce=1&amphur=&province=&levelSearch=&startPage=163&endPage=172&fbclid=IwAR1eWhy8CVD5ZOrgC0uo9WKezdTipb0To3dn9K8ByTUpm4ladt520fMzeCE (in Thai)

Homvijitkul, N., Sakulisariyaporn, C., Shanthananpha, N. & Thongrod, C. (2017). The intention to purchase organic products through perception and familiarity transmitting trust and inertia to the same products. Journal of Thonburi University. 11(26): 71-80. (in Thai)

Organic Agricultural Market Information Operations Center. (2019). Production situation. Retrieved June 8, 2019, from http://www.organic.moc.go.th/th/production/publications (in Thai)

Phorncharoen, I., Klahan. M., Suwannakood, S. & Kamhang, F. (2019). Marketing mix and being an entrepreneur that affects the understanding of organic production in Ubon Ratchathani province. Faculty of Business Administration and Management, Ubon Ratchathani Rajabhat University. (in Thai).

Sustainable Agriculture Foundation. (2019). Knowledge of sustainable agriculture. Retrieved June 8, 2019, from http://www.sathai.org (in Thai).

Thai Organic Trade Association. (2011). Thai organic. Retrieved June 8, 2019, from http://www.thaiorganictrade.com/ articles/archive/201106 (in Thai).

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-05-11

How to Cite

พรเจริญ อ. ., กล้าหาญ เ., สุวรรณกูฏ ส. ., & คำแหง ฝ. . (2020). ส่วนประสมทางการตลาด และการเป็นผู้ประกอบการที่มีผลต่อความรู้ความเข้าใจของ การผลิตเกษตรอินทรีย์ในเขตจังหวัดอุบลราชธานี. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยธนบุรี, 14(2), 109–119. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/trujournal/article/view/205465