การขยายอายุที่จะเกษียณในสังคมผู้สูงอายุ

Main Article Content

อัครวินท์ ศาสนพิทักษ์

Abstract

บทคัดย่อ 

            โลกกำลังเข้าสู่ “สังคมผู้สูงอายุ”(Ageing Society) อย่างเต็มตัวเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงโครงการสร้างของประชากรศาสตร์ (Demographic Changes) กล่าวคือ อัตราการเกิดของประชากรโลกลดลงอย่างรวดเร็วซึ่งเป็นผลมาจากนโยบายการคุมกำเนิดและการวางแผนครอบครัว ประกอบกับความเจริญทางด้านการแพทย์ทำให้อายุเฉลี่ยของคนสูงขึ้น ดังนั้น องค์การต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนอาจจะต้องเตรียมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่กำลังจะเกิดขึ้นในอนาคตโดยหนึ่งมาตรการที่ภาครัฐในต่างประเทศเริ่มดำเนินการแล้ว คือการขยายอายุที่จะเกษียณให้มากกว่า 60 ปีสำหรับประเทศไทยนั้นถึงแม้ยังไม่มาตรการขยายกรอบอายุที่จะเกษียณอย่างชัดเจน แต่ด้วยสถานการณ์และข้อมูลทางวิชาการทำให้การขยายอายุที่จะเกษียณอาจจะเกิดขึ้นในประเทศไทยในอนาคตอันใกล้นี้ 

คำสำคัญ: การเกษียณ, การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร, แรงงานผู้สูงอายุ, สังคมผู้สูงอายุ

 

Abstract 

                Currently, world is completely going to the ageing society causing from the term of demographic changes. In other word, it can say that the birth rate of world population has been declined rapidly. One of the reasons are the birth rate controlling and family planning policies. Moreover, the development in medication that leads to the increasing of ageing average. Therefore, public sector and private sector have to prepare for confronting with this change in the future. In order to handle this change, public sectors in some countries have done the method as enlarging the age for retirement to over than 60 years old. However, enlarging retirement age is not clearly stated in Thailand, but the information from research and articles will push it to happen in the near future. 

Keyword: Retirement, Demographic change, Ageing workforce, Ageing society

Article Details

How to Cite
ศาสนพิทักษ์ อ. (2017). การขยายอายุที่จะเกษียณในสังคมผู้สูงอายุ. Journal of Humanities and Social Sciences Thonburi University, 11(24), 90. retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/trujournal/article/view/72755
Section
บทความวิชาการ

References

เฉลิมพล แจ่มจันทร์ และ สวรัย บุณยมานนท์. (2554). แรงงานสูงวัยและการคาดการณ์ผลกระทบจากการขยายกำหนดเกษียณอายุ. ประชากรและสังคม 2554: จุดเปลี่ยนประชากร จุดเปลี่ยนสังคมไทย. นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.

นิสดารก์ เวชยานนท์. (2554). มิติใหม่ในการบริหารทุนมนุษย์. กรุงเทพฯ: ดี.เค.ปริ้นติ้งเวิลด์.

นิสดารก์ เวชยานนท์. (2556). การบริหารทุนมนุษย์เชิงกลยุทธ์ของไทย. นนทบุรี: รัตนไตร.

ธำรงลักษณ์ คงกาสวัสดิ์. (2550). ทุนมนุษย์การกำหนดตัวชี้วัดเพื่อพัฒนา. กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น)

ปราโมทย์ ประสาทกุล และ ปัทมา ว่าพัฒนวงศ์. (2553). นิยามผู้สูงอายุด้วยช่วงชีวิตข้างหน้า. ประชากรและสังคม 2553: คุณค่าผู้สูงอายุในสายตาสังคมไทย. นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.

ภานุภาคย์ พงศ์อดิชาต. (2557). อนาคตการเกษียณอายุราชการ. ใน HR Variety. สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. กรุงเทพฯ: แอร์บอร์นพรินต์.

สถาบันวิจัยประชาการและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล. (2549). การฉายภาพประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2548-2568. มหาวิทยาลัยมหิดล.

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2558). สรุปผลที่สำคัญการทำงานของผู้สูงอายุในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2557. สืบค้นเมื่อ 5 เมษายน 2559.

สำนักวิจัยพัฒนาระบบงานบุคคล สำนักงาน ก.พ. (2556). แนวโน้มการพัฒนาคุณภาพชีวิตข้าราชการ.HR Variety.สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. กรุงเทพฯ: แอร์บอร์นพรินต์

AHRI. (2015). Polse Survey: Older Workers. Melbourne: Australian Human Resources Institute. PULSE-Retention-report-FINAL.pdf2014/11/BlueprintForAnAgeingAustralia.pdf.Retrieved March 12, 2016. From https:// www.ahri.com.au/-data/assets/pdf_file/0006/19563/

Eurofound. (2012). Sustainable Work and the Ageing Workforce. Luxembourg: Publication Office of the European Union.

Julia Connell, Alan Nankervis & Johe Burgess. (2015).The Challenges of an ageing workforce: an introduction to the workforce management issues. In Labour & Industry: a journal of the social and economic relations of work. 25(4), 257-264.

Per Capita Australia. (2014). Blueprint for an Ageing Australia. Sydney: Per Capital Australia. Retrieved April 5, 2016. from http://percapita.org.au/wpcontent/uploads/

United Nations. (2013). World Population Ageing 2013. New York: Department of Economic and Social Affairs Population Division.