การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาปฏิบัติงานเครื่องมือกล สำหรับนักศึกษา ชั้นปีที่ 1 ภาควิชาครุศาสตร์เครื่องกล คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ

Main Article Content

อภิชาต ศรีประดิษฐ
วรวุฒิ กังหัน
อนิสา กิจเจริญ
พศิน ตรียัง

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อสร้างและพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาปฏิบัติงานเครื่องมือกล  2) เพื่อหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กับเกณฑ์ 80/80 3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษาก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน และ 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักศึกษาชั้นปีที่ 1 จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาปฏิบัติงานเครื่องมือกล แบบประเมินคุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมี สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน, ทดสอบค่าที (t-test for dependent sample)


ผลการวิจัย พบว่า 1) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาปฏิบัติงานเครื่องกล สำหรับนักศึกษามีคุณภาพ ภาพรวมอยู่ในระดับดี 2) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีประสิทธิภาพเท่ากับ 82.16/84.66  3) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาปฏิบัติงานเครื่องมือกล ของนักศึกษาสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.05 เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ และ4) ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.56 และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.55 อยู่ในระดับมากที่สุด

Article Details

How to Cite
ศรีประดิษฐ อ. ., กังหัน ว. ., กิจเจริญ อ. ., & ตรียัง พ. . (2020). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาปฏิบัติงานเครื่องมือกล สำหรับนักศึกษา ชั้นปีที่ 1 ภาควิชาครุศาสตร์เครื่องกล คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยธนบุรี, 14(2), 66–75. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/trujournal/article/view/193948
บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. (2561). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม

(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553. สืบค้นเมื่อ 27 เมษายน 2561, จาก https://person.mwit.ac.th/01-Statutes/ NationalEducation.pdf.

กัตภณ พลิ้วไธสง. (2559). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาปริญญาตรี สาขาวิชาวิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์ ผ่านบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ออนไลน์ ในรายวิชาฟัซซีลอจิก. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยธนบุรี. 10(22): 21-27.

ธนภรณ์ กาญจนพันธ์. (2559). ผลการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับทางการเรียนวิชาชีววิทยาการกำกับตนเอง แลความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

เมธา อึ่งทอง; ผดุงชัย ภู่พัฒน์; และ ชิตพล มังคลากุล. (2561). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน เพื่อส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาหลักวิชาชีพครู. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยธนบุรี. 12(ฉบับพิเศษ): 82-92.

วีรวัฒน์ ยอดมั่น;และ วิสูตร โพธิ์เงิน. (2558:381-382). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เรื่อง ทฤษฎีสีเพื่อการเรียนรู้ศิลปะประเภทจิตรกรรม สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal. 8(3): 381-385.

สุพรรณษา ครุฑเงิน. (2555). สื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง เรื่องข้อมูลและสารสนเทศ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชมงคลธัญบุรี.

สุราษฎร์ พรมจันทร. (2550). การพัฒนาหลักสูตรรายวิชา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

อดิเรก เยาว์วงศ์;และ ณมน จีรังสุวรรณ. (2555). การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาหลัก บทการปฏิบัติการทดลองเสมือนจริง โดยใช้โปรแกรมจำลองเครือข่ายคอมพิวเตอร์ สำหรับวิชาเครือข่ายคอมพิวเตอร์. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยธนบุรี. 6(12): 37-44.

Skinner, B.F. (1954). The Art of teaching End the Science of Learning. (Harv. Edu ca. Rex.24,1954).

Translated Thai References

Kanjanapan, T. (2012). Effect of Flipped Classroom Approach on Biology Achievement, Self-Regulation and Instructional Satisfaction of the Grade 11 Students. (Master of Education Thesis, Prince of Songkla University). (in Thai)

Khutngern, S. (2012). The self-learning multimedia on data and information for mathayomsuksa 1 students. (Master of Education Thesis, Rajamangala University of Technology Thanyaburi). (in Thai)

Ministry of Education. Office of the Permanent Secretary. (2018). National Education Act B.E. (1999). Improve (2). 2002, Improve (3). 2010. Retrieved April 27, 2018, from https://person.mwit.ac.th/01-Statutes/National Education.pdf.

Oungthong, M.; Pupat, P.;& MungKhalakun, C. (2018). A Development of Flipped Classroom Instruction Model to Enhance Learning Achievement in The Principles of Teaching Profession Course. Journal of Thonburi University. 12(Special): 82-92. (in Thai)

Prewthaisong, K. (2016). Comparison of Learning Achievement of Undergraduate Mechatronics Engineering Students by Learning Online e-Learning Course on Fuzzy Logic. Journal of Thonburi University. 10(22): 21-27. (in Thai)

Promjan, S. (2010). Course Development. Bangkok: King Mongkut’s University of Technology North Bangkok. (in Thai)

Yaowong, Adirek;& Jeerungsuwan, N. (2012). The Development of Learning Model with Problem-based Learning on virtual Laboratory Using Network Simulation for Computer Network Course. Journal of Thonburi University. 6(12): 37-44. (in Thai)

Yonmon, W.;& PoNgern, W. (2015). The Development of Computer-Assisted Instruction in Art Subject: Color Theory of Painting for Secondary School Students. Veridian E-Journal Slipakorn University. 8(3): 374-387. (in Thai)