วิธีวิทยาสำหรับการแก้ปัญหาความขัดแย้งในพลวัตกลุ่ม: กรณีศึกษาการประยุกต์ใช้ Roy Adaptation Model และการสร้างสมดุลกับครอบครัวหนึ่ง

Main Article Content

รองศาสตราจารย์ สุรชัย ธรรมทวีธิกุล
ญานพินิจ วชิรสุรงค์

Abstract

บทคัดย่อ


 การศึกษานี้ เป้าหมาย เพื่อหาแนวทางการประยุกต์โมเดลพฤติกรรมการปรับตัวของบุคคล (Roy Adaptation Model – RAM) ร่วมกับทฤษฎีการสร้างสมดุล (Balance Theory) ในระบบพลวัตกลุ่ม ทฤษฎีทั้งสองนี้มีหลักการว่า พฤติกรรมของคนเป็นระบบที่ปรับตัว จาก 4 ด้าน ได้แก่ด้าน ด้านกายภาพ (Physiologic – physical Mode) ด้านอัตลักษณ์บุคคล หรือกลุ่ม (Self–concept – Group Identity) ด้านบทบาทตามหน้าที่ของบุคคลหรือกลุ่ม (Role Function) และด้านการพึ่งพากัน (Inter–dependence) สำหรับ ทฤษฎีการสร้างสมดุล เป็นการสร้างสมดุลในระบบสังคมโดยสำแดงการเปลี่ยนเครื่องหมาย (จาก + เป็น – หรือจาก – เป็น + ของความสัมพันธ์ของทัศนะคติเชิงการก่อตัวเป็นหน่วยเดียวกัน (Unit Formation) หรือผลลัพธ์เชิงอารมณ์ การประยุกต์ตัวแบบทั้งสองจากข้อมูลเชิงคุณภาพของครอบครัวหนึ่ง สามารถชี้ให้เห็นวิธีวิทยา ในการอธิบายการแก้ไขความขัดแย้งในครอบครัวชาวคริสเตียนครอบครัวหนึ่งได้โดยพบว่า สภาวะสมดุลขึ้นอยู่กับระดับความลึกของจิต


 คำสำคัญ :  Roy’s Adaptation Model, Heider's Cognitive Balancing, Problem solving


 Abstract


 The aim of this paper is to present operationally and experimentally practice on applying Roy Adaptation Model and also Heider's Cognitive Balancing in Group Dynamics. This methodology appears in “Visualization of balancing systems based on naïve Psychological approaches”. Roy Adaptation Model, behaviors of a person are composed from 4 Modes; Physiologic–physical Mode, Self-Concept –Group Identity Mode, Role Function Mode and Interdependence Mode. For Cognitive Balancing of Heider, Balance state is identified by changing the sign (from + to – or from – to + of “Unit Formation” of attitude relationship or “sentimental” result’s relationship) in basic triangle (could be multiple) which is expressed in Nodes and Links (or Arrows). Then, the applying of these models to specified family case study after doing Factor Analysis (For extracting deeper abstract concepts) may denote Methodology in family problem – solving, and also the result that Balancing State depends also on transcendental feeling.


 Keywords:  Roy’s Adaptation Model, Heider's Cognitive Balancing, Problem Solving.

Article Details

How to Cite
ธรรมทวีธิกุล ร. ส., & วชิรสุรงค์ ญ. (2017). วิธีวิทยาสำหรับการแก้ปัญหาความขัดแย้งในพลวัตกลุ่ม: กรณีศึกษาการประยุกต์ใช้ Roy Adaptation Model และการสร้างสมดุลกับครอบครัวหนึ่ง. Journal of Humanities and Social Sciences Thonburi University, 11(26), 91–103. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/trujournal/article/view/110486
Section
บทความวิจัย