การพัฒนาแบบทดสอบวัดสมรรถนะนักศึกษาครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ ตามมาตรฐานวิชาชีพครูที่มีการตรวจให้คะแนนแบบพหุวิภาค

Authors

  • สุกัญญา ทองนาค ศิริชัย กาญจนวาสี และสุพจน์ เกิดสุวรรณ์

Keywords:

แบบทดสอบวัดสมรรถนะนักศึกษา, มาตรฐานวิชาชีพครู, การตรวจให้คะแนนแบบพหุวิภาค

Abstract

บทคัดย่อ

  การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาและตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบสมรรถนะนักศึกษาคณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ตามมาตรฐานวิชาชีพครูที่มีการตรวจให้คะแนนแบบพหุวิภาคและ 2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผลการทดสอบสมรรถนะนักศึกษาคณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ตามมาตรฐานวิชาชีพครูที่มีการให้คะแนนแบบพหุวิภาคกับผลการเรียนสะสมเฉลี่ย (GPA) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ศึกษาคือ นิสิตนักศึกษาคระครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ ชั้นปีที่ 4 และชั้นปีที่ 5 ปีการศึกษา 2554 จำนวน 12 มหาวิทยาลัยที่สังกัดมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ จำนวน 950 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบทดสอบวัดสมรรถนะนักศึกษาตามมาตรฐานวิชาชีพครูแบ่งออกเป็น 2 ตอน จำนวน 125 ข้อ สำหรับรูปแบบของแบบทดสอบฉบับนี้เป็นแบบทดสอบปรนัย 4 ตัวเลือก ผู้สอบสามารถเลือกคำตอบที่คิดว่าน่าจะเป็นคำตอบที่ถูกต้องได้มากกว่า 1 คำตอบ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม MULTILOG ใช้โมเดลPartlal Credit Model PCM จากนั้นนำคะแนนแต่ละด้านมหาความสัมพันธ์กับผลการเรียนสะสมเฉลี่ยผลกาวิจัยพบว่า

  1)   การตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบสมรรถนะนักศึกษาตามมาตรฐานวิชาชีพครู พบว่าการประมาณค่าความเที่ยงโดยวิธี Marginal Maximum-Likelihood (MML) ด้านความรู้-คิดเท่ากับ 0.8381 ด้านทักษะความสามารถ เท่ากับ 0.8803 และด้านคุณลักษณะ เท่ากับ 0.7875 สำหรับคำฟังก์ชันสารสนเทศของแบบทดสอบ พบว่า ข้อคำถามวัดสมรรถนะได้ดีกับนักศึกษาที่มีความสามารถ (q) ณ 12.0 ถึง + 1.0 หรือเป็นกลุ่มผู้ตอบที่มีความสามารถระดับต่ำ-ปานกลาง

 

Abstract

The purpose of this research was: 1) to develop and examine the quality of a

competency test for student teachers based on Teaching Professional Standards using item

polytomous scoring; and 2) to investigate the correlation between the competency test and

the studentsû GPA. The sample was the 950 fourth and fifth year undergraduate students

studying in the Faculty of Education at 12 autonomous universities in Thailand. The research

instrument was the 125-item competency test for student teachers consisting of two parts.

The test employed four- alternative multiple-choice format. More than one correct answer

was possible correct for each item. Partial Credit Model was used for data analysis relating

the parameters of the threshold test. Scores of each parameter were examined for the

correlation with the studentsû GPA. Research findings were as follows:

1. The reliability of the competency test for student teachers using Marginal

Maximum-Likelihood (MML) showed that the reliability of the test was 0.83 for knowledge,

0.88 for skills, and 0.78 for attributes. Moreover, the value of test information indicated that

test was best to assess studentsû competency whose competency () was between -2.0 to

+1.0 or for the students of low to medium competency levels.

2. The construct validity of the competency test for student teachers based

on Teaching Professional Standards using Confirmatory Factor Analysis revealed that the

χ2 = 27.78 , sig df = 52, P = 0.997 GFI=0.999 , AGFI = 0.995, RMR = 0.012, and that the GFI

and AGFI indexes were close to 1or RMSEA index was close to 0.

3. The analysis of correlation between the scores of the three aspects in the

competency test and GPF showed that they were significantly related for every pair at the

level of .01. In addition, the correlations between the knowledge and skills were high while

that of attributes and GPA was medium.

Keywords: competency test, teaching professional standards, polytomously scored item

Downloads

How to Cite

และสุพจน์ เกิดสุวรรณ์ ส. ท. ศ. ก. (2013). การพัฒนาแบบทดสอบวัดสมรรถนะนักศึกษาครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ ตามมาตรฐานวิชาชีพครูที่มีการตรวจให้คะแนนแบบพหุวิภาค. Journal of Multidisciplinary in Social Sciences, 9(1), 169–188. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/sduhs/article/view/29332

Issue

Section

Original Articles