ปัญหามาตรการบังคับทางปกครองในกรณีความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
Keywords:
มาตรการบังคับทางปกครอง, ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่Abstract
บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์การศึกษาเรื่องนี้เพื่อวิเคราะห์ปัญหาในการใช้มาตรการบังคับทางปกครองในกรณีความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ โดยศึกษาหลักเกณฑ์ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่และมาตรการบังคับทางปกครองตามกฎหมายของแต่ประเทศและกฎหมายไทย รวมทั้ง คำสั่งศาลปกครองสูงสุดคำพิพากษาศาลฎีกา ความเห็นคณะกรรมกากฤษฎีกาและความเห็นคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง เพื่อค้นหาแนวทางแก้ไขปัญหาในการใช้มาตรการบังคับทางปกครอง ตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ซึ่งผลการศึกษาพบว่า พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 มาตรา 57 มิได้กำหนดของเขตของการอนุโลมในการนำวิธีการยึด การอายัดและการขายทอดตลาดทรัพย์สินตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งไว้ทำให้เกิดความไม่ชัดเจนว่าจะนำวิธีการยึดการอายัด และการขายทอตลาดทรัพย์สินตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาใช้บังคับได้เพียงใดและไม่มีระเบียบกลางว่าด้วยการใช้มาตรการบังคับทางปกครองที่หน่วยงานของรัฐต่างๆ สามารถใช้ร่วมกันได้ รวมถึงขากหน่วยงานและเจ้าหน้าที่ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญในการใช้มาตรการบังคับปกครองโดยตรง
ABSTRACT
The objectives of this study were: 1) to investigate problems of administrative
enforcement measure for the liability of officers in tort; and 2) to look for problem solutions
in administrative enforcement measure in the case of liability of officer in tort. The study
employed documentation by studying three areas regarding: 1) the principles of liability of
officer in tort and administrative enforcement measures in foreign laws and Thai laws,
2) Supreme Administrative Courtûs orders, the Supreme Courtûs judgment, the Council of
Stateûs opinions, and 3) the Administrative Procedure Commissionûs opinions. Findings
indicated that: 1) Section 57 of Administrative Procedure Act 1991 (B.E. 2539) did not define
the scope for applying mutatis mutandis, and this led to problems when the law was to
applied for a seizure or confiscation, and an auction under the civil procedure code related
to the administrative enforcement measure; 2) there was no common rule for all stateûs
administrative enforcement; and 3) lastly, there were no special departments and officers that
had expertise to deal with the administrative enforcement.
Keywords : Administrative Enforcement Measure, Liability of Officer in Tort