ความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์การเล่น ของเล่นรูปทรงสัมพันธ์

Authors

  • มณีนุช ไวทยะชาติ เยาวพา เดชะคุปต์ และนิภา ศรีไพโรจน์

Keywords:

ความสามารถด้านมิติสัมพันธ์, การจัดประสบการณ์การเล่นของเล่นรูปทรงสัมพันธ์

Abstract

บทคัดย่อ

  การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่มหมายเพื่อศึกษาระดับความสามารถ และเปรียบเทียบความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัยก่อน และหลังได้รับประสบการณ์การเล่นของเล่นรูปทรงสัมพันธ์ การวิจัยนี้ใช้กลุ่มตัวอย่าง คือเด็กปฐมวัยชาย – หญิง อายุ 3-4 ปี ที่กำลังศึกษาอยู่ในชั้นอนุบาลปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2553 โรงเรียนราทร กรุงเทพมหานคร สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชนผู้วิจัยใช้การสุ่มอย่างง่าย (simple random sampllng) โดยทำการจับฉลากเป็นกลุ่มทดลองจำนวน 15 คน ใช้เวลาทำการทดลองสัปดาห์ละ 3 วัน วันละ 30 นาที รวมระยะเวลาในการทดลอง 8 สัปดาห์ โดยการจัดประสบการณ์การเล่นของเล่นรูปทรงสัมพันธ์ตามแผนที่ผู้วิจัยจัดทำขึ้น และใช้แบบทดสอบวัดความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ ซึ่งมีค่าดัชนีความสอดคล้องของแบบทดสอบ (IOC) อยู่ระหว่าง 0.67 ถึง 1.00 และมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .83 และ แบบแผนการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงทดลองแบบ One-Group Pretest – Posttest Design วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ t-test for Dependent Samples


 

Abstract

The purpose of this research was to study the spatial abilities of young children

before and after experiencing playing shape-related toys. The subjects of this study were

15 children aged 3-4 who were selected by using a simple random sampling. They were

studying kindergarten one, in the first semester of the 2010 academic year at Narathon

School, Bangkok which was under the jurisdiction of the Office of Private Education

Commission. The experiment was conducted for 30 minutes a day, three days a week, for

eight consecutive weeks. The research instrument was a test for spatial ability of young

children with the index of Item Objective Congruence (IOC) between 0.67-1.00 and the

reliability of .83. The design of this research was one-group pretest-posttest design. Data was

analyzed by using dependent samples t-test.

The research findings were as follows:

After experiencing playing shape-related toys, the young childrenûs spatial ability

highly increased. The difference of the young childrenûs spatial ability before and after

receiving the experience was significant at a statistic level (p=.05).

Keywords: spatial ability, children experiencing playing shape-related toys

Downloads

How to Cite

เยาวพา เดชะคุปต์ และนิภา ศรีไพโรจน์ ม. ไ. (2013). ความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์การเล่น ของเล่นรูปทรงสัมพันธ์. Journal of Multidisciplinary in Social Sciences, 9(1), 67–78. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/sduhs/article/view/29322

Issue

Section

Original Articles