การศึกษาสมรรถภาพเชิงวิชาชีพของนิสิตหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต (กศ.บ. 5ปี) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

Authors

  • ทิพวรรณ เดชสงค์ สุชาดา สุธรรมรักษ์ และอรรณพ โพธิสุ

Keywords:

Professional competency

Abstract

บทคัดย่อ

  การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาสมรถภาพเชิงวิชาชีพของนิสิตหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต (กศ.บ. 5ปี) โดยรวมและรายด้านใน 6 ด้าน คือ ด้านมโนทัศน์ ด้านเทคนิค ด้านบริบท ด้านการติดต่อสื่อสาร ด้านกาบูรณาการ และด้านการปรับตัว และ 2) เปรียบเทียบสมรรถภาพเชิงวิชาชีพของนิสิตหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต โดยรวมและรายด้าน จำแนกตาม เพศ คณะวิชา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ในการเรียน และทัศนคติต่อวิชาชีพครู กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย นิสิตหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต (กศ.บ. 5 ปี) ชั้นปีที่ 5 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยใช้ประชากรทั้งหมด เป็นกลุ่มตัวอย่าง รวมจำนวนทั้งสิ้น 221 คน  เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 62 ข้อ มีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ 0.97 สถิตที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที่การวิเคราะห์ความแปรแรวนแบบทางเดียว และการทดสอบเป็นรายคู่ของ เชฟเฟ่ ผลการวิจัยพบว่า 1) นิสิตมีสมรรถภาพเชิงวิชาชีพโดยรวมและเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน 2) นิสิตขายและนิสิตหญิงมีสมรรถภพเชิงวิชาชีพ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4) นิสิตที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่างกันมีสมรรถภาพเชิงวิชาชีพ โดยรวมไม่แตกต่างกัน 

 

Abstract

The purposes of this research were 1) to study professional competency of the

undergraduate students (5-year curriculum) of Srinakarinwirot University in general and in

each of six aspects including conception, technique, context, communication, integration,

and adaptation and 2) to compare professional competency in general and in each of six

aspects based on gender, faculty, academic achievement, learning motivation and opinion

towards teaching profession. The population in this research consisted of 221 fifth-year

undergraduate students who studied for a Bachelor of Education at Srinakharinwirot

University. The instrument used for collecting data was a five-point Likert rating scale

questionnaire. The questionnaire consisted of 62 items with an alpha reliability co-efficient

of .97. The data was analyzed by descriptive statistics (frequency, percentage, arithmetic

mean, and standard deviation), t-test, one-way ANOVA and Scheffeûs test. The results were

as follows: 1) the studentsû professional competency in general and in each aspect was at a

high level; 2) male and female students showed insignificant differences in professional

competency both in general and in each aspect; 3) the students in different faculties showed

insignificant differences in their professional competency in general but showed significant

differences (p=.05) when each aspect was compared; 4) the students who differed in

academic achievement showed insignificant differences in professional competency in

general, but showed significant differences (p=.05) when each aspect was compared;

5) the students who differed in learning motivation showed significant differences (p=.05)

in professional competency both in general and in each aspect; 6) the students who differed

in opinion towards teaching profession showed significant differences (p=.05) in professional

competency both in general and in each aspect.

Keywords: Professional competency

Downloads

How to Cite

สุชาดา สุธรรมรักษ์ และอรรณพ โพธิสุ ท. เ. (2013). การศึกษาสมรรถภาพเชิงวิชาชีพของนิสิตหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต (กศ.บ. 5ปี) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. Journal of Multidisciplinary in Social Sciences, 9(1), 45–66. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/sduhs/article/view/29319

Issue

Section

Original Articles