ปัจจัยที่ส่งผลต่อความปลอดภัยในการใช้บริการรถโดยสารสาธารณะของนักศึกษา มหาวิทยาลัยสวนดุสิต

Authors

  • ดร.องค์อร สงวนญาติ
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์พัทธนันท์ ศรีม่วง
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิจิตรา ศรีสอน

Keywords:

Safety, Service, Public Transport, Students

Abstract

Factors Affecting Safety in Public Transport Service of Suan Dusit University Students
องค์อร สงวนญาติ*1 พัทธนันท์ ศรีม่วง2 และ วิจิตรา ศรีสอน3 1บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสวนดุสิต 2โรงเรียนการเรือน มหาวิทยาลัยสวนดุสิต 3วิทยาลัยนวัตกรรมและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา Ongorn Snguanyat*1 Pattanan Srimuang2 and Wijittra Srisorn3 1Graduate School, Suan Dusit University 2School of Culinary Arts, Suan Dusit University 3College of Innovation and Management, Suan Sunandha Rajabhat University
* ผู้ประสานงาน (Corresponding Authors) e-mail: [email protected]
Factors Affecting Safety in Public Transport Service of Suan Dusit University Students
บทคัดย่อ การวจิยัครงั้น ี้มวีตัถปุระสงค ์เพอื่ศกึษาพฤตกิรรมการใหบ้รกิารของพนกังานขบัรถโดยสารสาธารณะ และศึกษาพฤติกรรมการใช้บริการของนักศึกษา มหาวิทยาลัยสวนดุสิตในกรุงเทพมหานคร รวมถึงการศึกษา ปจัจยัทสี่ง่ผลตอ่ความปลอดภยัในการใชบ้รกิารรถโดยสารสาธารณะของนกัศกึษา มหาวทิยาลยัสวนดสุติ ด�าเนนิ การเก็บรวบรวมข้อมูลแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ข้อมูลเชิงปริมาณและข้อมูลเชิงคุณภาพ ส่วนของข้อมูลเชิงปริมาณ ท�าการสุ่มตัวอย่างนักศึกษาภาคปกติ ระดับปริญญาตรีที่ก�าลังศึกษาอยู่ใน มหาวิทยาลัยสวนดุสิตใน กรุงเทพมหานคร มีจ�านวนทั้งสิ้น 400 คน โดยใช้แบบสอบถาม และในส่วนของข้อมูลเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูล ส�าคัญ (Key Informants) ในงานวิจัย จ�านวนทั้งสิ้น 11 ราย เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษามีความคิดเห็นต่อพฤติกรรมการให้บริการของพนักงานขับรถโดยสาร สาธารณะในภาพรวมอยใู่นระดบัความคดิเหน็มาก โดยใหค้วามคดิเหน็ในระดบัมากทส่ีดุในดา้นความเรว็ในการ ขับขี่เป็นอันดับที่หนึ่ง ในส่วนของพฤติกรรมการใช้บริการรถโดยสารสาธารณะ ของนักศึกษามหาวิทยาลัย สวนดุสิตนั้น พบว่า นักศึกษาส่วนใหญ่ใช้รถโดยสารสาธารณะประเภทรถโดยสารประจ�าทาง (รถเมล์) เดินทาง เป็นประจ�า โดยมีสาเหตุที่ใช้บริการเพราะไม่มีรถส่วนตัว มีวัตถุประสงค์ในการเดินทางเพื่อไปศึกษาเล่าเรียน และมีความคิดเห็นว่ารถโดยสารสาธารณะที่เลือกใช้บริการเป็นประจ�ามีความปลอดภัยระดับปานกลาง ด้าน สภาพแวดลอ้มในการใชบ้รกิารรถโดยสารสาธารณะนกัศกึษามคีวามคดิเหน็ในภาพรวมอยใู่นระดบัความคดิเหน็ ปานกลาง และพบว่า พฤติกรรมการให้บริการในด้านความเร็วในการขับขี่ ประเภทของรถโดยสารสาธารณะที่ ใช้ประจ�า และพฤติกรรมการให้บริการในด้านพฤติกรรมในการขับขี่ทั่วไป เป็นปัจจัยที่ส่งผลทางบวกต่อความ ปลอดภยัในการใชบ้รกิารรถโดยสารสาธารณะของนกัศกึษา มหาวทิยาลยัสวนดสุติตามล�าดบั อยา่งมนียัส�าคญั ทางสถิติ 0.01
ค�าส�าคัญ: ความปลอดภัย การบริการ รถโดยสารสาธารณะ นักศึกษา
102
SDU Res. J. 14 (3) September - December 2018
Abstract This research aimed to study a service behavior of public bus drivers and behavioral intention to use public transport of Suan Dusit university students in Bangkok. It also included factors affecting public transport service safety of participants. Data were collected through quantitative and qualitative methods. In term of quantitative methods, the sampling was used with 400 students of Suan Dusit University in Bangkok by questionnaire. In terms of qualitative information, there are 11 key informants in this research which were collected through
in-depth interview. The results found that student’s opinions on service behavior of public transport drivers in overall are at high level and the opinion about the speed of driving are at the highest level. In terms of the use of public transport Suan Dusit university students, it showed that most students use public bus transportation travel frequently due to a lack of private cars, their traveling purpose to study, and their opinion that using the public transport service is safe at the medium level. For the environment using public transport, student’s opinions in the overall are at the medium level. The results also found that behavior of service about driving speed, types of public transport they used regularly and general service behavior
are factors that positively affect the safety of the public transport service of Suan Dusit
University students respectively, at p<0.01.

References

กรณ์พิทักษ์ อาสน์สุวรรณ. (2557). การพัฒนาคุณภาพการให้บริการรถโดยสารสาธารณะในเขตเมืองจังหวัด ชลบรุ:ี กรณศีกึษารถสองแถว (สายสนีา้เงนิ) (วทิยานพินธป์รญิญามหาบณัฑติ). ชลบรุ:ี มหาวทิยาลยั บูรพา. กรมการขนส่งทางบก. (2557). สถิติการรับเรื่องร้องเรียนผ่านศูนย์คุ้มครองผู้โดยสารรถสาธารณะ โทร. 1584. สืบค้น 24 กรกฎาคม 2559, จาก http://apps.dlt.go.th/statistics_web/1584.html กฤษณ์ เจ็ดวรรณะ และศุภชัย หอวิมานพร. (2554). ลักษณะการชนและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับอุบัติเหตุของรถ โดยสารประจำาทางขนาดใหญ่ระหว่างจังหวัดประเภทรุนแรง. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลพระนคร. ขจรศกัด ิ์จนัทรพ์าณชิย.์ (2553). การประเมนิความตระหนกัในความปลอดภยัในการเดนิทางและการใชเ้ขม็ขดั นิรภัยของผู้โดยสารรถโดยสารสาธารณะ. กรุงเทพฯ: กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. วรียา อทุยารตัน.์ (2556). การวเิคราะหค์วามปลอดภยัรถตโู้ดยสารสาธารณะ (วทิยานพินธป์รญิญามหาบณัฑติ). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2535). การวิเคราะห์และวางแผนด้านการขนส่ง. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามค�าแหง. พนิต ภู่จินดา. (2556). ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบขนส่งมวลชน. กรุงเทพฯ: ส�านักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. ศรีเพ็ญ ทรัพย์มนชัย, มนวิกา ผดุงสิทธิ์ และนภดล ร่มโพธิ์. (2555). การวิจัยทางธุรกิจ. กรุงเทพฯ: ฟิสิกส์ เซ็นเตอร์. ศนูยอ์�านวยการความปลอดภยัทางถนน. (2554). แผนทนี่าำทางเชงิกลยทุธท์ศวรรษแหง่ความปลอดภยัทางถนน พ.ศ. 2554-2563. กรุงเทพฯ: กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ศูนย์อ�านวยการความปลอดภัย ทางถนน. _________. (2554). แผนปฏิบัติการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน พ.ศ. 2554-2555. สืบค้น 22 มีนาคม 2558, จาก http://www.roadsafetythailand.com/main/files/data1/action_plan54-55. pdf สถาบนัวจิยัเพอื่การพฒันาประเทศไทย. (2556). อบุตัเิหตรุถโดยสารสาธารณะ: ผลกระทบการประกนัภยั และ การชดเชยเยียวยา. สืบค้น 24 ธันวาคม 2559, จาก https://docs.google.com/viewerng/ viewer?url=https://tdri.or.th/wp-content/uploads/2013/07/h1191.pdf สุรเมศวร์ พิริยะวัฒน์. (2557). ระบบขนส่งสาธารณะ (Public transportation). สืบค้น 22 มีนาคม 2558, จาก https://www.surames.com/images/column_1227454933/chapter%205%20public%20transportation.pdf สุรินทร์ นิยมมางกูร. (2546). เทคนิคการสุ่มตัวอย่าง. กรุงเทพฯ: ส�านักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. อานุพล กฤษดานิรมิต. (2553). การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกรูปแบบการเดินทางของบุคลากร มจธ. บางขุนเทียน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. อดุลย์ จาตุรงคกุล และดลยา จาตุรงคกุล. (2545). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์. อดิศร ศิริวัชรไพบูลย์. (2546). ความคิดเห็นของผู้โดยสารด้านความปลอดภัยในการโดยสารรถตู้ประจำาทาง สาธารณะในเขตกรุงเทพมหานคร (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์. อภิรักษ์ สะตะพันธ์. (2551). ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความปลอดภัยของผู้ใช้บริการรถโดยสารในประเทศไทย (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. Kotler, Phillip. (2000). Marketing Management: Analysis, Planning, Implementation and
Control (10th ed.). Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall.
Lamtrakul et al. (2007). A Reflection of Bus Accident in Thailand on Passengers’ View. Retrieved from http://trsl.thairoads.org/FileUpLoad/1353/140804001353.pdf Millett, J. D. (1997). Management in the public service: The quest for effective performance (5th ed.). New York: Mc Grow-Hill. Srisakda, L. (2010). Safety Issues of Bus Transport in Thailand-A Lesson Learnt From an In-Depth Accident Investigation. Naresuan University Engineering Journal, 5(1), 27-36. Taneerananon, P., & Sutiwipakorn, W. (2001). Bus Safety in Thailand. Road Engineering
Association of Asia and Australasi Journal, 8(2), 22-33. Vuchic, V.R. (2007). Urban Transit Systems and Technology. New Jersey: John Wiley and Sons. Translated Thai References Artsuwan, K. (2014). Development of Quality of Service for Public Transportation in Pattaya City, Chon Buri Province: a Case Study of Minibus (Blue Line) (Master’s thesis). Chon Buri: Burapa University. (in Thai) Department of Land Transport. (2014). Statistics of Public Passenger Protection Center: 1584. Retrieved July 24, 2016, from http://apps.dlt.go.th/statistics_web/1584.html. (in Thai) Jaturongkakun, A., & Jaturongkakun, J. (2002). Consumer Behavior. Bangkok: Thammasat
University Press. (in Thai) Jedwanna, K., & Horwimamporn, S. (2011). Crash types of and factors affecting severity of inter-city bus accident. Bangkok: Rajamangala University of Technology Phra Nakhon. (in Thai) Jittangwantana, B. (1992). Transportation analysis and planning. Bangkok: Ramkhamhaeng University Press. (in Thai) Junpanish, K. (2010). Assessment of safety awareness in traveling and use of passenger seat belts of Public bus passengers. Bangkok: Department of Disease Control, Ministry of Public Health. (in Thai) Kitsadaniramit, A. (2010). Analysis of Factors Affecting the Transport Modes: A Case Study of KMUTT Bangkuntien Campus. Bangkok: King Mongkut's University of Technology Thonburi. (in Thai) Niyommangkung, S. (2003). Sampling technique. Bangkok: Kasetsart University Press. (in Thai)
Factors Pujinda, P. (2013). Basic knowledge of public transport. Bangkok: Chulalongkorn University Press. (in Thai) Piriyawat, S. (2014). Public transportation. Retrieved March 22, 2015, from http//www.surames. com/images/column_1227454933/chapter%205%20public%20transportation.pdf. (in Thai) Road Safety Centre. (2011). Strategic Roadmap for Decade of Road Safety in 2011-2020. Bangkok: Road Safety Centre. (in Thai) _________. (2011). Road Accident Prevention and Reduction Action Plan in 2011-2012.
Retrieved March 22, 2015, from http://www.roadsafetythailand.com/ main/files/ data1/action_plan54-55.pdf. (in Thai) Satapun, A. (2008). Factors affecting bus passenger safety in Thailand (Master’s thesis).
Songkla: Prince of Songkla University. (in Thai) Siriwatcharapiboon, A. (2003). Passengers' Opinion toward Safety in Riding a Public Van: Bangkok Metropolitan Area (Master’s thesis). Bangkok: Kasetsart University. (in Thai) Sukmonchai, S., Padungsit, M., & Rompo, N. (2012). Business Research. Bangkok: Physics
Publishing Center. (in Thai) Thailand Development Research Institute. (2013). Public bus accident: Insurance Impact and Compensation. Retrieved December 24, 2016, from https://docs.google.com/ viewerng/viewer?url=https://tdri.or.th/wp-content/uploads/2013/07/h1191.pdf. (in Thai) Uthayarat, W. (2013). Analysis of public van safety (Master’s thesis). Chon Buri: Burapa
University. (in Thai)

Published

2019-04-30

How to Cite

สงวนญาติ ด., ศรีม่วง ผ., & ศรีสอน ผ. ด. (2019). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความปลอดภัยในการใช้บริการรถโดยสารสาธารณะของนักศึกษา มหาวิทยาลัยสวนดุสิต. Journal of Multidisciplinary in Social Sciences, 14(3), 101–122. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/sduhs/article/view/186634