การจัดการเรียนการสอนตามกระบวนการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์
Keywords:
การจัดการเรียนการสอน, การออกแบบการเรียนการสอน, การแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์, การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21Abstract
การแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์เป็นทักษะการแสวงหาคำตอบที่หลากหลาย แปลกใหม่ ในการแก้ไข ปัญหาในสถานการณ์ที่จำกัด สามารถเลือกวิธีการแก้ปัญหาอย่างเหมาะสม มีเหตุมีผลสามารถอธิบาย กระบวนการแก้ปัญหาในแต่ละขั้นตอนได้ และสามารถอธิบายถึงผลกระทบจากการเลือกวิธีการแก้ไขปัญหา นั้นๆ ได้ ความสามารถในการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์เป็นทักษะที่สามารถฝึกฝน และพัฒนาให้เกิดขึ้นได้ กระบวนการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ประกอบด้วย 5 ขั้นตอนหลัก คือ 1) การค้นหาความจริง 2) การค้นหา ปัญหา 3) การค้นหาความคิด 4) การค้นหาคำตอบ และ 5) การค้นหาคำตอบที่เป็นที่ยอมรับ
References
problem_solving.html?cat=4. Osborn, A. (1953). Author Applied Imagination: Principles & Procedures of Creative Thinking. New York: Scribner.
(1964). How to Become More Creative. New York: Scribner. Parnskul, S. (2002). A Proposed Learning Model For Creative Problem Solving Process Usinginternat- Based Cooperative Learning Within The Organization. (Doctoral’s dissertation. Chulalongkorn University, Bangkok. (in Thai) Treffinger, D. (1995). Creative Problem Solving: Overview & Educational Implications. Educational Psychology Review (Historical Archive), 7(3), 301-312. Treffinger, D. & Isaksen, S. (2005). Creative Problem Solving: The History, Development & Implications for Gifted Education & Talent Development. Gifted Child Quarterly, 49(4), 342. Treffinger, D., Selby, E. & Isaksen, S. (2008). Understanding Individual Problem-Solving Style: A Key to Learning & Applying Creative Problem Solving. Learning & Individual Differences, 18(4), 390-401.